แคลเซียมไฮดรอกไซด์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แคลเซียมไฮดรอกไซด์
Calcium hydroxide
ชื่อตาม IUPAC Calcium hydroxide
ชื่ออื่น Slaked lime
Milk of lime
Caustic lime
Calcium(II) hydroxide
Pickling lime
Hydrated lime
Portlandite
Calcium hydrate
เลขทะเบียน
เลขทะเบียน CAS [1305-62-0][CAS]
PubChem 14777
EC number 215-137-3
KEGG D01083
ChEBI 31341
RTECS number EW2800000
SMILES
 
InChI
 
Gmelin Reference 846915
ChemSpider ID 14094
คุณสมบัติ
สูตรเคมี Ca(OH)2
มวลต่อหนึ่งโมล 74.093 g/mol
ลักษณะทางกายภาพ ผงสีขาว
กลิ่น ไม่มีกลิ่น
ความหนาแน่น 2.211 g/cm3, solid
จุดหลอมเหลว

580 °C, 853 K, 1076 °F

ความสามารถละลายได้ ใน น้ำ 0.189 g/100 mL (0 °C)
0.173 g/100 mL (20 °C)
0.066 g/100 mL (100 °C)
Solubility product, Ksp 5.5×10−6
ความสามารถละลายได้ ละลายในกลีเซอรอลและกรด
ไม่ละลายในแอลกอฮอล์
pKa 12.4
Basicity (pKb) 2.37
ดัชนีหักเหแสง (nD) 1.574
อุณหเคมี
Std enthalpy of
formation
ΔfHo298
−987 kJ·mol−1[1]
Standard molar
entropy
So298
83 J·mol−1·K−1[1]
ความอันตราย
NFPA 704
NFPA 704.svg
0
3
0
 
R-phrases R22, R34
S-phrases (S2), S24
จุดวาบไฟ ไม่ติดไฟ
U.S. Permissible
exposure limit (PEL)
TWA 15 mg/m3 (ทั้งหมด) 5 mg/m3 (ไอระเหย)[2]
LD50 7340 mg/kg (หนู (rat), ทางปาก)
7300 mg/kg (หนู (mouse))
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
แคทไอออนที่เกี่ยวข้อง
เบสที่เกี่ยวข้อง
แคลเซียมออกไซด์
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
สถานีย่อย:เคมี

แคลเซียมไฮดรอกไซด์ (อังกฤษ: calcium hydroxide) เป็นสารประกอบอนินทรีย์ที่มีสูตรเคมีคือ Ca(OH)2 ลักษณะเป็นผลึกไม่มีสีหรือผงสีขาว ได้จากการเจือจางแคลเซียมออกไซด์กับน้ำ สารละลายอิ่มตัวของแคลเซียมไฮดรอกไซด์ รู้จักในชื่อน้ำปูนใส

การใช้[แก้]

แคลเซียมไฮดรอกไซด์ทำให้สิ่งสกปรกในน้ำตกตะกอน จึงใช้ในการบำบัดน้ำเสีย รวมถึงใช้ในการเตรียมก๊าซแอมโมเนีย ตามปฏิกิริยา:

Ca(OH)2 + 2NH4Cl → 2NH3 + CaCl2 + 2H2O

แคลเซียมไฮดรอกไซด์มีความเป็นพิษต่ำ จึงใช้ในอุตสาหกรรมอาหารหลายชนิด เช่น การทำแตงกวาดอง การทำไข่เยี่ยวม้าและใช้แทนโซดาทำขนมในการทำปาปาดัม

ชนพื้นเมืองอเมริกาเหนือนิยมเคี้ยวใบโคคากับแคลเซียมไฮดรอกไซด์ที่ได้จากการเผาเปลือกหอย เช่นเดียวกับการเคี้ยวหมากและพลูที่มีแคลเซียมไฮดรอกไซด์เพื่อเสริมฤทธิ์สารกระตุ้นของชาวเอเชีย

แคลเซียมไฮดรอกไซด์ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง จึงควรใช้อย่างระมัดระวัง[3]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 Zumdahl, Steven S. (2009). Chemical Principles 6th Ed. Houghton Mifflin Company. p. A21. ISBN 0-618-94690-X.
  2. http://www.cdc.gov/niosh/npg/npgd0092.html
  3. "Calcium hydroxide - MSDS - P & B Lime Works" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-09-09. สืบค้นเมื่อ 2016-10-01.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]