แคลเซียมฟลูออไรด์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แคลเซียมฟลูออไรด์
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ChEBI
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.029.262 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
EC Number
  • 232-188-7
RTECS number
  • EW1760000
UNII
  • InChI=1S/Ca.2FH/h;2*1H/q+2;;/p-2 checkY
    Key: WUKWITHWXAAZEY-UHFFFAOYSA-L checkY
  • InChI=1/Ca.2FH/h;2*1H/q+2;;/p-2
    Key: WUKWITHWXAAZEY-NUQVWONBAZ
  • [Ca+2].[F-].[F-]
  • F[Ca]F
คุณสมบัติ
CaF2
มวลโมเลกุล 78.075 g·mol−1
ลักษณะทางกายภาพ ของแข็งผลึกสีขาว
ความหนาแน่น 3.18 g/cm3
จุดหลอมเหลว 1,418 องศาเซลเซียส (2,584 องศาฟาเรนไฮต์; 1,691 เคลวิน)
จุดเดือด 2,533 องศาเซลเซียส (4,591 องศาฟาเรนไฮต์; 2,806 เคลวิน)
0.015 g/L (18 °C)
0.016 g/L (20 °C)
Solubility product, Ksp 3.9 × 10−11 [1]
ความสามารถละลายได้ ไม่ละลายในแอซีโทน
ละลายได้เล็กน้อยในกรด
-28.0·10−6 cm3/mol
1.4338
โครงสร้าง
cubic crystal system, cF12[2]
Fm3m, #225
a = 5.451 Å, b = 5.451 Å, c = 5.451 Å
α = 90°, β = 90°, γ = 90°
Ca, 8, cubic
F, 4, tetrahedral
ความอันตราย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH):
อันตรายหลัก
ทำปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริกเข้มข้น ได้กรดไฮโดรฟลูออริก
NFPA 704 (fire diamond)
NFPA 704 four-colored diamondHealth 0: Exposure under fire conditions would offer no hazard beyond that of ordinary combustible material. E.g. sodium chlorideFlammability 0: Will not burn. E.g. waterInstability 0: Normally stable, even under fire exposure conditions, and is not reactive with water. E.g. liquid nitrogenSpecial hazards (white): no code
0
0
0
จุดวาบไฟ ไม่ติดไฟ
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC):
>5000 mg/kg (ปาก, หนูตะเภา)
4250 mg/kg (ปาก, หนู)[3]
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) ICSC 1323
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
แอนไอออนอื่น ๆ
แคลเซียมคลอไรด์
แคลเซียมโบรไมด์
แคลเซียมไอโอไดด์
แคทไอออนอื่น ๆ
เบริลเลียมฟลูออไรด์
แมกนีเซียมฟลูออไรด์
สตรอนเชียมฟลูออไรด์
แบเรียมฟลูออไรด์
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

แคลเซียมฟลูออไรด์ (อังกฤษ: calcium fluoride) เป็นสารประกอบอนินทรีย์ที่มีสูตรเคมีคือ CaF2 ลักษณะเป็นของแข็งผลึกสีขาว ไม่มีกลิ่น ได้จากแร่ฟลูออไรต์ แคลเซียมฟลูออไรด์บริสุทธิ์ได้จากการทำปฏิกิริยาระหว่างแคลเซียมคาร์บอเนตกับกรดไฮโดรฟลูออริก ตามสมการ:[4]

CaCO3 + 2 HF → CaF2 + CO2 + H2O

แคลเซียมฟลูออไรด์ใช้ในอุตสาหกรรมกระจกและเลนส์[5] และเป็นแหล่งสำคัญของไฮโดรเจนฟลูออไรด์ ซึ่งใช้ในอุตสาหกรรมโลหะ การกลั่นน้ำมันและตัวทำความเย็น[6]

แคลเซียมฟลูออไรด์ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อดวงตา ผิวหนังและระบบทางเดินหายใจ[7] หากทำปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริกจะได้กรดไฮโดรฟลูออริกซึ่งเป็นพิษ[8] จึงควรใช้อย่างระมัดระวัง

อ้างอิง[แก้]

  1. Pradyot Patnaik. Handbook of Inorganic Chemicals. McGraw-Hill, 2002, ISBN 0-07-049439-8
  2. X-ray Diffraction Investigations of CaF2 at High Pressure, L. Gerward, J. S. Olsen, S. Steenstrup, M. Malinowski, S. Åsbrink and A. Waskowska, Journal of Applied Crystallography (1992), 25, 578-581 doi:10.1107/S0021889892004096
  3. "Fluorides (as F)". Immediately Dangerous to Life and Health Concentrations (IDLH). National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
  4. Aigueperse, Jean; Mollard, Paul; Devilliers, Didier; Chemla, Marius; Faron, Robert; Romano, René; Cuer, Jean Pierre (15 มิถุนายน 2000). Fluorine Compounds, Inorganic. Ullmann's Encyclopedia of Industrial Chemistry. Wiley-VCH Verlag. doi:10.1002/14356007.a11_307.
  5. "Calcium fluoride (CaF2)". Crystran. สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม 2017.
  6. "Hydrogen fluoride (Hydrofluoric acid)". CDC. สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม 2017.
  7. "Material Safety Data Sheet – Calcium fluoride MSDS" (PDF). ScienceLab.com. สืบค้นเมื่อ 28 พฤษภาคม 2023.
  8. "Hydrofluoric acid - MSDS" (PDF). Wisconsin Center for Microelectronics. สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม 2017.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]