เอทิลีนไกลคอล
| |||
ชื่อ | |||
---|---|---|---|
IUPAC name
1,2-Ethanediol
| |||
Preferred IUPAC name
Ethane-1,2-diol[1] | |||
ชื่ออื่น
| |||
เลขทะเบียน | |||
3D model (JSmol)
|
|||
3DMet | |||
ตัวย่อ | MEG | ||
505945 | |||
ChEBI | |||
ChEMBL | |||
เคมสไปเดอร์ | |||
ECHA InfoCard | 100.003.159 | ||
EC Number |
| ||
943 | |||
KEGG | |||
MeSH | Ethylene+glycol | ||
ผับเคม CID
|
|||
RTECS number |
| ||
UNII | |||
UN number | 3082 | ||
CompTox Dashboard (EPA)
|
|||
| |||
| |||
คุณสมบัติ | |||
C2H6O2 | |||
มวลโมเลกุล | 62.068 g·mol−1 | ||
ลักษณะทางกายภาพ | ของเหลวไม่มีสี | ||
กลิ่น | ไม่มีกลิ่น[2] | ||
ความหนาแน่น | 1.1132 g/ซm3 (1,111.9 oz/cu ft) | ||
จุดหลอมเหลว | −12.9 องศาเซลเซียส (8.8 องศาฟาเรนไฮต์; 260.2 เคลวิน) | ||
จุดเดือด | 197.3 องศาเซลเซียส (387.1 องศาฟาเรนไฮต์; 470.4 เคลวิน) | ||
ผสมเข้ากันได้ | |||
ความสามารถละลายได้ | ละลายในตัวทำละลายอินทรีย์ส่วนใหญ่ | ||
log P | -1.69[3] | ||
ความดันไอ | 0.06 mmHg (20 °C)[2] | ||
ความหนืด | 1.61×10−2 Pa·s[4] | ||
ความอันตราย | |||
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH): | |||
อันตรายหลัก
|
เป็นอันตราย, ติดไฟ | ||
GHS labelling: | |||
อันตราย | |||
H302, H373 | |||
P260, P264, P270, P301+P312, P302, P314, P330, P501 | |||
NFPA 704 (fire diamond) | |||
จุดวาบไฟ | 111 องศาเซลเซียส (232 องศาฟาเรนไฮต์; 384 เคลวิน) closed cup | ||
410 องศาเซลเซียส (770 องศาฟาเรนไฮต์; 683 เคลวิน) | |||
ขีดจำกัดการระเบิด | 3.2–15.2%[2] | ||
NIOSH (US health exposure limits): | |||
PEL (Permissible)
|
ไม่มี[2] | ||
REL (Recommended)
|
ไม่มี[2] | ||
IDLH (Immediate danger)
|
ไม่มี[2] | ||
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) | External SDS 1 | ||
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |||
ไดออลที่เกี่ยวข้อง
|
|||
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
เอทิลีนไกลคอล (อังกฤษ: ethylene glycol; ชื่อ IUPAC: ethane-1,2-diol) เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่มีสูตรเคมีคือ (CH2OH)2 เป็นของเหลวไม่มีสี ไม่มีกลิ่น รสหวาน มีความเป็นพิษระดับกลาง นิยมใช้เป็นสารป้องกันน้ำแข็งตัว (antifreeze) และสารหล่อเย็น (coolant) และใช้เป็นสารตั้งต้นในอุตสาหกรรมพอลิเอสเทอร์
การผลิต
[แก้]ในปี ค.ศ. 1860 นักเคมีชาวฝรั่งเศส ชาร์ล-อาดอลฟ์ เวิตซ์เตรียมเอทิลีนไกลคอลจากปฏิกิริยาไฮเดรชันของเอทิลีนออกไซด์ ต่อมาในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เยอรมนีเตรียมเอทิลีนไกลคอลจากการสังเคราะห์ 1,2-ไดคลอโรอีเทนเพื่อใช้แทนกลีเซอรอลในอุตสาหกรรมวัตถุระเบิด ในสหรัฐอเมริกา มีการเริ่มผลิตเอทิลีนไกลคอลกึ่งพาณิชย์ในปี ค.ศ. 1917 และเริ่มผลิตเชิงพาณิชย์ในปี ค.ศ. 1925 โดยโรงงานของบริษัทยูเนียนคาร์ไบด์ในเมืองเซาท์ชาร์ลสตัน รัฐเวสต์เวอร์จิเนีย
ปัจจุบันได้จากการทำปฏิกิริยาระหว่างเอทิลีนออกไซด์และน้ำ ตามสมการ:
C2H4O + H2O → HO−CH2CH2−OH
มีการประมาณการว่ามีการผลิตเอทิลีนไกลคอล 6.7 พันล้านกิโลกรัมต่อปี[5]
ความเป็นพิษ
[แก้]เอทิลีนไกลคอลมีค่า LD50 สำหรับมนุษย์ (ทางปาก) เท่ากับ 786 มิลลิกรัม/กิโลกรัม[6] อันตรายส่วนใหญ่มาจากรสชาติหวานซึ่งทำให้มนุษย์และสัตว์เข้าใจผิดได้[7] เมื่อรับประทานเข้าไป เอทิลีนไกลคอลจะเปลี่ยนรูปเป็นกรดออกซาลิกซึ่งเป็นพิษ ส่งผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง หัวใจและไต จึงมีการแนะนำให้ใช้โพรพิลีนไกลคอลเป็นสารป้องกันน้ำแข็งตัวแทน เพราะรสชาติไม่ดีและเมื่อรับประทานเข้าไป จะเปลี่ยนรูปเป็นกรดแล็กติก ซึ่งเป็นสารทั่วไปที่ได้จากกระบวนการเมตาบอลิซึม[8]
ในปี ค.ศ. 2012 ออสเตรเลีย สหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกาเสนอให้มีการเติมดีนาโทเนียมเบนโซเอต สารรสขมจัดลงในสารป้องกันน้ำแข็งตัวเพื่อป้องกันการรับประทาน ในเดือนธันวาคม ปีเดียวกัน ผู้ผลิตสารป้องกันน้ำแข็งตัวในสหรัฐฯ ยอมรับในข้อเสนอดังกล่าว[9]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ International Union of Pure and Applied Chemistry (2014). Nomenclature of Organic Chemistry: IUPAC Recommendations and Preferred Names 2013. The Royal Society of Chemistry. p. 690. doi:10.1039/9781849733069. ISBN 978-0-85404-182-4.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards. "#0272". National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
- ↑ "Ethylene glycol". www.chemsrc.com.
- ↑ Elert, Glenn. "Viscosity". The Physics Hypertextbook. สืบค้นเมื่อ 2007-10-02.
- ↑ https://radiantglobal.ca/download/Ethylene%20glycol.pdf[ลิงก์เสีย]
- ↑ Safety Officer in Physical Chemistry (November 23, 2009). "Safety (MSDS) data for ethylene glycol". Oxford University. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-12-14. สืบค้นเมื่อ December 30, 2009.
- ↑ Ethylene glycol poisoning: MedlinePlus Medical Encyclopedia
- ↑ Pieter Klapwijk (January 27, 2010). "Ethylene Glycol Poisoning". The Rested Dog Inn. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-01-26. สืบค้นเมื่อ October 11, 2012.
- ↑ "Antifreeze and Engine Coolant Being Bittered Nationwide". Consumer Specialty Products Association. 13 December 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 December 2012. สืบค้นเมื่อ 30 June 2016.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ เอทิลีนไกลคอล
- WebBook page for C2H6O2
- ATSDR - Case Studies in Environmental Medicine: Ethylene Glycol and Propylene Glycol Toxicity
- CDC - NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards
- Antifreeze ratio for Ethylene Glycol and Propylene Glycol
- Medical information
- Hairong Yue; Yujun Zhao; Xinbin Ma; Jinlong Gong (2012). "Ethylene glycol: properties, synthesis, and applications". Chemical Society Reviews. 41 (11): 4218–4244. doi:10.1039/C2CS15359A. PMID 22488259.