เหตุโจมตีในมุมไบ พ.ศ. 2551
การโจมตีนครมุมไบ 26/11 | |
---|---|
![]() รอยเขม่าจากการวางเพลิงห้องพักในโรงแรมทัชมาฮาลแพเลซ | |
สถานที่ | มุมไบ ประเทศอินเดีย
|
พิกัด | 18°55′20″N 72°49′57″E / 18.922125°N 72.832564°Eพิกัดภูมิศาสตร์: 18°55′20″N 72°49′57″E / 18.922125°N 72.832564°E |
วันที่ | 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 2008 – 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 2008 21:30 (26/11) – 08:00 (29/11) (IST, UTC+05:30) |
ประเภท | การวางระเบิด, การกราดยิง, วิกฏติการณ์ชิงตัวประกัน,[1] การล้อม |
อาวุธ | AK-47, RDX, IED, ลูกระเบิดขว้าง |
ตาย | อย่างน้อย 174 ราย (รวมผู้ก่อการร้าย 9 ราย)[2] |
เจ็บ | 300+[2] |
ผู้โจมตี | Zaki ur Rehman Lakhvi[3][4] และ Lashkar-e-Taiba[5][6][7] |
ผู้สมรู้ | 10 |
จำเลย |
การโจมตีนครมุมไบ 26/11[10] หรือเรียกสั้น ๆ ว่า เหตุการณ์ 26/11[11][a] เป็นระลอกการก่อการร้ายที่เกิดขึ้นในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2008 โดยสมาชิก 10 รายของ Lashkar-e-Taiba กลุ่มก่อการร้ายอิงศาสนาอิสลามที่ตั้งในปากีสถาน ก่อการกราดยิงหมู่และวางระเบิด 12 ครั้งในระยะเวลา 4 วัน ทั่วนครมุมไบ ประเทศอินเดีย[12][13][14] การก่อการร้ายเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 26 และจบลงในวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 2008 ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 174 ราย รวมผู้ก่อการร้าย 9 ราย และบาดเจ็บสาหัสราว 300 ราย[2][15]
การก่อการร้ายรวม 12 ครั้ง ในบริเวณทั่วนครมุมไบ ได้แก่ สถานีฉัตรปติศิวาชี, โรงแรมโอเบโรอิ ไทรเดนท์ ทางตอนใต้ของนครมุมไบ [16] ที่ โรงแรมทัชมาฮาลแพเลซ,[16] คาเฟ่ลีโอโพลด์, โรงพยาบาลคามา[16] ที่ศูนย์ชาวยิวบ้านนริมาณ[17], โรงภาพยนตร์เมโทร อัดลาบส์,[18] และบนถนนระหว่างอาคารไทมส์ออฟอินเดีย และ วิทยาลัยเซนต์แซเวียร์ มุมไบ[16] นอกจากนี้ยังมีการระเบิดที่ท่าเรือมาซากาน และในแท็กซี่ที่วิลพาเล่.[19] ตำรวจและกองกำลังหน่วยรบของอินเดียสามารถเข้าควบคุมพื้นที่ได้ทั้งหมดในวันที่ 28 ยกเว้นเพียงโรงแรมทัชมาฮาล ซึ่งกองกำลังพิเศษ (National Security Guards: NSG) ของอินเดียได้เริ่มปฏิบัติการทอร์นาโดดำ (Operation Black Tornado) ที่โรงแรมทัชมาฮาลแพเลซในเวลาต่อมา เพื่อกำจัดผู้ก่อการร้ายที่เหลือภายในโรงแรม[20]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ Magnier, Mark; Sharma, Subhash (27 November 2008). "India terrorist attacks leave at least 101 dead in Mumbai". Los Angeles Times. p. A1. สืบค้นเมื่อ 28 November 2008.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 "Mumbai terrorist attacks of 2008". Encyclopaedia Britannica. สืบค้นเมื่อ 26 November 2018.
- ↑ Masood, Salman (12 February 2009). "Pakistan Announces Arrests for Mumbai Attacks". New York Times. สืบค้นเมื่อ 12 February 2009.
- ↑ Haider, Kamran (12 February 2009). "Pakistan says it arrests Mumbai attack plotters". Reuters. สืบค้นเมื่อ 12 February 2009.
- ↑ Pakistan admits Pakistanis, LeT training camps used for Mumbai attacks. The News Tribe (12 November 2012). Retrieved on 2014-06-19.
- ↑ Nelson, Dean. (8 July 2009) Pakistani president Asif Zardari admits creating terrorist groups. Telegraph. Retrieved on 2014-06-19.
- ↑ Pakistan admits Mumbai terror link | The National. Thenational.ae (12 February 2009). Retrieved on 2014-06-19.
- ↑ Press Trust of India (27 November 2008). "Army preparing for final assault, says Major General Poonam Gilurkar". The Times of India. India. สืบค้นเมื่อ 10 December 2008.
- ↑ "India Blames Pakistan as Mumbai Siege Ends". DW. 29 November 2008. สืบค้นเมื่อ 15 July 2011.
- ↑ "10 years on, revisiting Mumbai's terror hours | Onmanorama". specials.manoramaonline.com. สืบค้นเมื่อ 2018-11-26.
- ↑ "26/11 Mumbai Terror Attacks Aftermath: Security Audits Carried Out On 227 Non-Major Seaports Till Date". NDTV. 26 November 2017. สืบค้นเมื่อ 7 December 2017.
- ↑ Friedman, Thomas (17 February 2009). "No Way, No How, Not Here". The New York Times. Archived from the original on 29 August 2012. สืบค้นเมื่อ 17 May 2010.
- ↑ Indian Muslims hailed for not burying 26/11 attackers, Sify News, 19 February 2009, สืบค้นเมื่อ 15 July 2011
- ↑ Schifrin, Nick (25 November 2009). "Mumbai Terror Attacks: 7 Pakistanis Charged – Action Comes a Year After India's Worst Terrorist Attacks; 164 Die". ABC News. สืบค้นเมื่อ 17 May 2010.
- ↑ Black, Ian (28 November 2008). "Attacks draw worldwide condemnation". The Guardian. UK. Archived from the original on 1 December 2008. สืบค้นเมื่อ 5 December 2008.
- ↑ 16.0 16.1 16.2 16.3 "Wave of Terror Attacks Strikes India's Mumbai, Killing at Least 182". Fox News Channel. 27 November 2008. Archived from the original on 4 December 2008. สืบค้นเมื่อ 3 December 2008.
- ↑ Kahn, Jeremy (2 December 2008). "Jews of Mumbai, a Tiny and Eclectic Group, Suddenly Reconsider Their Serene Existence". The New York Times. Archived from the original on 20 August 2014. สืบค้นเมื่อ 3 December 2008.
- ↑ Magnier, Mark (3 December 2008). "Mumbai police officers describe nightmare of attack". Los Angeles Times. Archived from the original on 6 December 2008. สืบค้นเมื่อ 3 December 2008.
- ↑ "Tracing the terror route". The Indian Express. India. 10 December 2008. Archived from the original on 28 May 2009. สืบค้นเมื่อ 9 December 2008.
- ↑ "Police declare Mumbai siege over". BBC. 29 November 2008. Archived from the original on 29 November 2008. สืบค้นเมื่อ 29 November 2008.
![]() |
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: เหตุโจมตีในมุมไบ พ.ศ. 2551 |
อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref>
สำหรับกลุ่มชื่อ "lower-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="lower-alpha"/>
ที่สอดคล้องกัน หรือไม่มีการปิด </ref>