ข้ามไปเนื้อหา

เวาบ์ชึค

พิกัด: 50°46′N 16°17′E / 50.767°N 16.283°E / 50.767; 16.283
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เวาบ์ชึค
  • จากบนตามเข็มนาฬิกา: จัตุรัสตลาด
  • ที่ทำการไปรษณีย์หลัก
  • ศาลแขวง
  • ปราสาท Książ
  • ศาลากลาง
ธงของเวาบ์ชึค
ธง
ตราราชการของเวาบ์ชึค
ตราอาร์ม
เวาบ์ชึคตั้งอยู่ในประเทศโปแลนด์
เวาบ์ชึค
เวาบ์ชึค
เวาบ์ชึคตั้งอยู่ในยุโรป
เวาบ์ชึค
เวาบ์ชึค
พิกัด: 50°46′N 16°17′E / 50.767°N 16.283°E / 50.767; 16.283
ประเทศธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์
จังหวัดดอลนือชล็อนสก์
เทศมณฑลเทศมณฑลนคร
ก่อตั้งคริสต์ศตวรรษที่ 9
สิทธิเมืองค.ศ. 1400 ถึง 1426
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีRoman Szełemej[2]
พื้นที่
 • ทั้งหมด84.70 ตร.กม. (32.70 ตร.ไมล์)
ความสูง350 เมตร (1,150 ฟุต)
ประชากร
 (31 ธันวาคม ค.ศ. 2020)
 • ทั้งหมด109,971 ลดลง (อันดับที่ 33)[1] คน
เขตเวลาUTC+1 (เวลายุโรปกลาง)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC+2 (เวลาออมแสงยุโรปกลาง)
รหัสไปรษณีย์58-300 ถึง 58-309, 58-316
รหัสพื้นที่+48 74
ป้ายทะเบียนรถยนต์DB, DBA
เว็บไซต์www.um.walbrzych.pl

เวาบ์ชึค (โปแลนด์: Wałbrzych, ภาษาโปแลนด์: [ˈvawbʐɨx] ; ไซลีเชีย: Wałbrzich; ไซลีเชียตอนล่าง: Walmbrig หรือ Walmbrich; เช็ก: Valbřich) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศโปแลนด์ ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำบูเบอร์ โดยอยู่ห่างจากเมืองวรอตสวัฟราว 70 กิโลเมตรไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ และอยู่ห่างจากชายแดนสาธารณรัฐเช็กราว 10 กิโลเมตร มีประชากร 121,919 คน (มิถุนายน ค.ศ. 2009) มีผลิตเคมีภัณฑ์ มีเหมืองถ่านหิน เมืองเคยเป็นของประเทศเยอรมนี ใช้ชื่อว่า วัลเทินบวร์ค (เยอรมัน: Waldenburg) ตกเป็นของโปแลนด์ตามข้อตกลงในการประชุมพ็อทซ์ดัม เมื่อ ค.ศ. 1945 ภายหลังที่สงครามโลกครั้งที่สองได้จบลง

ศัพทมูลวิทยา

[แก้]

รายงานจากเว็บไซต์ทางการของเมือง ชื่อภาษาโปแลนด์ตอนต้นของเมืองคือ Lasogród ("ปราสาทป่า")[3] วัลเทินบวร์ค (Waldenburg, ซึ่งมีความหมายเดียวกัน) ชื่อภาษาเยอรมัน สื่อถึงปราสาท Nowy Dwór (เยอรมัน: Burg Neuhaus) ที่ซากของมันอยู่ทางใต้ของเมือง ชื่อนี้ถูกใช้เป็นที่อยู่ในบริเวณนี้ทั้งหมด[4] โดยปรากฏใช้ครั้งแรกในคริสต์ศตวรรษที่ 15[5] ชื่อภาษาโปแลนด์สมัยใหม่ "Wałbrzych" มาจากชื่อภาษาเยอรมัน Walbrich ซึ่งมีรูปผันแปรทางภาษาในสมัยกลางตอนปลายในชื่อเก่าของคำว่า "Wallenberg" หรือ "Walmberg"[6]

เมืองพี่น้อง

[แก้]

เวาบ์ชึคเป็นเมืองพี่น้องกับเมืองดังนี้:[7][8]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Local Data Bank". Statistics Poland. สืบค้นเมื่อ 16 October 2021. Data for territorial unit 0265000.
  2. "Wałbrzych: Roman Szełemej popierany przez PO wygrał powtórzone wybory". archive.fo/5QMf. polskatimes.pl. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-09-07. สืบค้นเมื่อ 2024-02-18.
  3. "Portal Urzędu Miejskiego w Wałbrzychu". um.walbrzych.pl.
  4. Weczerka, p.555.
  5. "Witamy w PORADNI JĘZYKOWEJ". us.edu.pl. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-01-01. สืบค้นเมื่อ 2022-01-01.
  6. Barbara Czopek, Adaptacje niemieckich nazw miejscowych w języku polskim, 1995, p.55, ISBN 83-85579-33-8
  7. "Miasta partnerskie". poznaj.um.walbrzych.pl (ภาษาโปแลนด์). Wałbrzych. สืบค้นเมื่อ 28 February 2020.
  8. "Umowa z Cape Breton podpisana". poznaj.um.walbrzych.pl (ภาษาโปแลนด์). Wałbrzych. 14 January 2019. สืบค้นเมื่อ 28 February 2020.

บรรณานุกรม

  • Badstübner, Ernst; Dietmar Popp; Andrzej Tomaszewski; Dethard von Winterfeld (2005). Dehio – Handbuch der Kunstdenkmäler in Polen: Schlesien. München, Berlin: Deutscher Kunstverlag 2005. ISBN 3-422-03109-X.
  • Petry, Ludwig; Josef Joachim Menzel; Winfried Irgang (2000). Geschichte Schlesiens. Band 1: Von der Urzeit bis zum Jahre 1526. Stuttgart: Jan Thorbecke Verlag Stuttgart. ISBN 3-7995-6341-5.
  • Thum, Gregor (2003). Die fremde Stadt. Breslau 1945. Berlin: Siedler. ISBN 3-88680-795-9.
  • Weczerka, Hugo (2003). Handbuch der historischen Stätten: Schlesien, Second Edition. Stuttgart: Kröner Stuttgart. ISBN 3-520-31602-1.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]