เมืองกีฬากัวลาลัมเปอร์
หน้าตา
Bandaraya Sukan Kuala Lumpur | |
ไฟล์:KL Sports City.png | |
ที่อยู่ | บูกิตจาลิล กัวลาลัมเปอร์ มาเลเซีย |
---|---|
พิกัด | 3°3′16.8″N 101°41′28.2″E / 3.054667°N 101.691167°E |
สนามกีฬาหลัก | สนามกีฬาแห่งชาติบูกิตจาลิล ความจุ: 87,411 |
ระบบขนส่งมวลชน | SP17 สถานีบูกิตจาลิล |
เจ้าของ | รัฐบาลมาเลเซีย |
การก่อสร้าง | |
วางศิลาฤกษ์ | 1 มกราคม 1992 |
เริ่มสร้าง | 1 มกราคม 1995 |
เปิดใช้งาน | 11 กรกฎาคม 1998 |
ปรับปรุง | 1 มกราคม 1996 2017 |
ต่อเติม | 1 มกราคม 1998 2017 |
สถาปนิก | Weidleplan Consulting GMBH จากชตุทการ์ท เยอรมนี Populous[1] |
เว็บไซต์ | |
klsportscity |
เมืองกีฬากัวลาลัมเปอร์ หรือ เคแอล สปอร์ต ซิตี (อังกฤษ: KL Sports City (เดิมชื่อ Bukit Jalil National Sports Complex); มลายู: Kompleks Sukan Negara) เป็นศูนย์กีฬาที่ใหญ่ที่สุดในประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่ในเมืองบูกิตจาลิล ทางตอนใต้ ห่างจากกรุงกัวลาลัมเปอร์ประมาณ 20 กิโลเมตร โดยมีการระบุว่าเป็น "ศูนย์กีฬาในสวนสาธารณะ" เพียงแห่งเดียวในประเทศหรือภูมิภาค หลังจากได้รับการพัฒนาอย่างเต็มที่ มีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการโดย มาฮาดีร์ บิน โมฮามัด นายกรัฐมนตรีมาเลเซียในขณะนั้น เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 1998 ก่อนการแข่งขันกีฬาเครือจักรภพ 1998 ซึ่งสนามแห่งนี้ถูกใช้ในพิธีเปิดการแข่งขันเช่นเดียวกัน ศูนย์กีฬาได้รับการยกระดับเป็น เมืองกีฬากัวลาลัมเปอร์ ในปี 2017 เพื่อรองรับการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ 2017[2][3]
คุณสมบัติ
[แก้]- ซุ้มประตูหลักสู่สนามกีฬาแห่งชาติพร้อมน้ำพุในสระ
- กริช ดาบมาเลย์ที่ทางเข้าสนามกีฬาแห่งชาติ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของจิตวิญญาณนักรบของน้ำใจนักกีฬา
รายชื่ออาคาร
[แก้]สนามกีฬา
[แก้]- สนามกีฬาแห่งชาติบูกิตจาลิล
- แอคเซียตาอะรีนา (เดิมคือสนามกีฬาในร่มปุตรา)
- สนามกีฬาฮอกกี้แห่งชาติ
- ศูนย์กีฬาทางน้ำแห่งชาติ
- ศูนย์กีฬาสควอชแห่งชาติ
สวนสาธารณะ
[แก้]- คอมมอนเวลท์ฮิลล์ (Bukit Komanwel)
- แฟมิลี่ปาร์ค
- บูกิต จาลิล กอล์ฟ แอนด์ คันทรี คลับ
เบ็ดเตล็ด
[แก้]- สำนักงานใหญ่สภาการกีฬาแห่งชาติ และกลุ่มอาคาร
- โรงเรียนกีฬาบูกิตจาลิล
- สถานีรถไฟรางเบาบูกิตจาลิล
- Vista Komanwel (เดิมเคยเป็นหมู่บ้านนักกีฬาในกีฬาเครือจักรภพในปี 1998)
- ศูนย์การค้า Vista Komanwel
เหตุการณ์สำคัญ
[แก้]- 2017 - อาเซียนพาราเกมส์ 2017
- 2017 - ซีเกมส์ 2017
- 2014 - เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2014 รอบชิงชนะเลิศ นัดที่ 2
- 2011 - ลิเวอร์พูล เอเชียทัวร์ 2011
- 2011 - เชลซี ทัวร์เอเชียช่วงฤดูร้อน 2011[4]
- 2011 - อาร์เซนอล ทัวร์ก่อนเปิดฤดูกาล 2011[5]
- 2010 - เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2010 รอบรองชนะเลิศ นัดแรก
- 2009–ปัจจุบัน - เอทีพีเวิลด์ทัวร์ 250 มาเลเซียโอเพน (เทนนิส)
- 2009 - อาเซียนพาราเกมส์ 2009
- 2009 - แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด เอเชียทัวร์ 2009
- 2007 - เอเชียนคัพ 2007
- 2007 - แชมเปียนยูธคัพ 2007
- 2006 - กีฬาเฟสปิก 2006
- 2003 - พรีเมียร์ลีกเอเชียคัพ 2003
- 2001 - อาเซียนพาราเกมส์ 2001
- 2001 - ซีเกมส์ 2001
- 2001 - แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด เอเชียทัวร์ 2001
- 1998–ปัจจุบัน -
- มาเลเซียคัพ รอบชิงชนะเลิศ
- มาเลเซียเอฟเอคัพ รอบชิงชนะเลิศ
- 1998 - กีฬาเครือจักรภพครั้งที่ 16
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "KL Sports City Rejuvenated and Ready to Host the South East Asian Games". 12 May 2017.
- ↑ "Populous designs to transform 1998 Commonwealth Games venue into KL Sports City". cladglobal.com. สืบค้นเมื่อ 2023-04-15.
- ↑ "KL Sports City 98% complete, says MRCB". The Edge Markets. 2017-06-20. สืบค้นเมื่อ 2023-04-15.
- ↑ Return Journey to Kuala Lumpur Retrieved at 8 June 2014
- ↑ "Arsenal to undertake pre-season tour of Malaysia and China this July". The Guardian. London. 24 May 2011. สืบค้นเมื่อ 2012-08-01.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- เว็บไซต์ทางการของสนาม
- เว็บไซต์อย่างเป็นทางการของศูนย์กีฬา เก็บถาวร 2022-08-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- แผนที่และภาพถ่ายทางอากาศของ เมืองกีฬากัวลาลัมเปอร์
- ภาพถ่ายดาวเทียมจากวิกิแมเปีย หรือกูเกิลแมปส์
- แผนที่จากลองดูแมป หรือเฮียวีโก
- ภาพถ่ายทางอากาศจากเทอร์ราเซิร์ฟเวอร์