เทพแห่งห้องสุขา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เทวดาห้องสุขา
เทวรูปอุจฉุศมะวิทยาราช ศิลปะแบบประเพณีญี่ปุ่น
เจ้าแม่จีโกว ศิลปะแบบประเพณีจีน
เทวรูป เทวดาห้องสุขา ในคติศาสนาแบบเอเชียตะวันออก

เทพแห่งห้องสุขา (อังกฤษ: Toilet god; lang-zh) เป็นเทวดาหรือวิญญาณที่รักษาห้องบังคนในวัฒนธรรมศาสนาแบบต่าง ๆ ปรากฏตั้งแต่อารยธรรมแบบเอเชียตะวันออกจนถึงอารยธรรมแบบกรีกโรมัน

ในวัฒนธรรมต่าง ๆ[แก้]

ในประเทศจีนตามความเชื่อของจีนและศาสนาเต๋ามีหลายองค์ แต่กระแสหลัก คือ เจ้าแม่จีโกวซึ่งเป็นที่สักการะบูชาของบรรดาสตรีจีนในวันเทศกาลโคมไฟ[1] และในราชวงศ์หมิง เทพเจ้าประจำตำแหน่ง 365 องค์ในห้องสินคือ สามเทพนารีดาวกระบวยทอง คือ เจ้าแม่หยุนเซียว (จีน: 云霄娘娘) เจ้าแม่ฉงเซียว (จีน: 琼霄娘娘) และเจ้าแม่ปี่เซียว (จีน: 碧霄娘娘) อันเป็นหนึ่งในเทพนารีผู้ผดุงครรภ์[2]

ในประเทศญี่ปุ่น ความเชื่อในเทพเจ้าส้วมซึ่งส่วนใหญ่มักแสดงในรูปของอุจฉุศมะวิทยาราช (จีน: 烏枢沙摩明王)[3] ซึ่งโดยเฉพาะในศาสนาพุทธฝ่ายมหายานนิกายเซน อันนับถือกันอย่างแพร่หลายในแถบเอเชียตะวันออก มักทำสมาธิที่เริ่มจากความสะอาดโดยมักเริ่มต้นที่ห้องส้วม[4]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Lust, John (1996). Chinese popular prints. BRILL. pp. 322–324. ISBN 978-90-04-10472-3.
  2. Kang, Xiaofei (2006). The cult of the fox: power, gender, and popular religion in late imperial and modern China. p. Columbia University Press. ISBN 978-0-231-13338-8.
  3. Hanley, Susan B. (1999). Everyday things in premodern Japan: the hidden legacy of material culture. University of California Press. pp. 122–125. ISBN 978-0-520-21812-3.
  4. Faure, Bernard (1998). The red thread: Buddhist approaches to sexuality. Princeton University Press. p. 62. ISBN 978-0-691-05997-6.