เจ้าชายยังนย็อง
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
ยังนย็อง 이제 | |
---|---|
มกุฎราชกุมารแห่งโชซ็อน | |
ดำรงพระยศ | ค.ศ. 1403 – 1417[1] |
ก่อนหน้า | พระเจ้าแทจง |
ถัดไป | พระเจ้าเซจงมหาราช |
ประสูติ | ค.ศ. 1394 ฮันซ็อง, อาณาจักรโชซ็อน |
สิ้นพระชนม์ | 7 กันยายน พ.ศ. 1462 |
ฝังพระศพ | Sangdo-dong, เขตทงจัก, โซล, ประเทศเกาหลีใต้ |
มเหสี | เจ้าหญิงพระชายา Suseong แห่งสกุล Gwangsan Kim |
ราชวงศ์ | อีแห่งช็อนจู |
ราชวงศ์ | สกุลอี |
พระราชบิดา | พระเจ้าแทจงแห่งโชซ็อน |
พระราชมารดา | พระนางว็อนกย็อง แห่งสกุล Yeoheung Min |
ศาสนา | ลัทธิขงจื๊อใหม่ |
ชื่อเกาหลี | |
ฮันกึล | |
---|---|
ฮันจา | |
อาร์อาร์ | Yangnyeong Daegun |
เอ็มอาร์ | Yangnyŏng Taegun |
ชื่อเกิด | |
ฮันกึล | |
ฮันจา | |
อาร์อาร์ | Yi Je |
เอ็มอาร์ | Yi Che |
ชื่อสุภาพ | |
ฮันกึล | |
ฮันจา | |
อาร์อาร์ | Hubaek |
เอ็มอาร์ | Hupaek |
ชื่อมรณกรรม | |
ฮันกึล | |
ฮันจา | |
อาร์อาร์ | Gangjeong |
เอ็มอาร์ | Kangjŏng |
บทความนี้อักษรเกาหลีปรากฏอยู่ คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถามหรือสัญลักษณ์อื่นแทนตัวอักษร หากคอมพิวเตอร์ของคุณไม่สามารถแสดงผลอักษรฮันกึลและอักษรฮันจาได้อย่างถูกต้อง |
เจ้าชายยังนย็อง (เกาหลี: 양녕대군, 1394 — 7 กันยายน 1462) เจ้าชายแห่ง ราชวงศ์โชซ็อน พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ใน พระเจ้าแทจงแห่งโชซ็อน รัชกาลที่ 3 เมื่อครั้งยังดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายช็องอัน กับพระนางว็อนกย็อง พระมเหสีและเป็นพระเชษฐาของ พระเจ้าเซจงมหาราช และบรรพบุรุษของ อี ซึง-มัน นักเรียกร้องอิสรภาพชาวเกาหลีและประธานาธิบดีคนแรกของ เกาหลีใต้
พระประวัติ
[แก้]พระองค์มีพระนามเมื่อแรกประสูติว่า ลีเจ หรือ อี เจ ใน ค.ศ. 1394 พระองค์มีพระปรีชาสามารถทางด้าน วรรณกรรม และ อักษรวิจิตร พระองค์เห็นว่าพระองค์เองไม่มีความสามารถในการเป็นกษัตริย์และเชื่อว่าน่าจะเป็นเจ้าชายชุงนย็องพระอนุชาพระองค์เล็กที่มีความเหมาะสม พระองค์จึงตัดสินพระทัยสร้างความอับอายให้กับราชสำนักทำให้สูญเสียตำแหน่งเจ้าชายและอภิเษกกับหญิงสาวสามัญชนทำให้พระองค์ถูกเนรเทศอย่างเป็นทางการออกจากฮันยังในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1418 เจ้าชายฮโยรย็อง พระอนุชาพระองค์รองของเจ้าชายยังนย็องซึ่งรับตำแหน่งรัชทายาทสืบต่อมา มีความเห็นเช่นเดียวกันว่าเจ้าชายชุงนยองเหมาะสมที่จะเป็นกษัตริย์มากกว่า จึงตัดสินพระทัยออกผนวชเป็นพระภิกษุ ซึ่งแผนการนี้ส่งผลให้เจ้าชายชุงนยองได้ขึ้นสืบราชบัลลังก์เป็นพระเจ้าเซจงมหาราช ต่อมาเจ้าชายยังนย็องกลายเป็นนักเดินทางที่เร่ร่อนและพำนักอยู่บนภูเขา
พระราชวงศ์
[แก้]- พระบิดา: พระเจ้าแทจง (태종)
- พระมารดา: พระราชินีว็อนกย็อง ตระกูลมิน แห่งยอฮึง (เกาหลี: 원경왕후 민씨; ฮันจา: 元敬王后 閔氏, กันยายน 1337 – 12 กันยายน 1391)
พระชายา พระโอรส พระธิดา
[แก้]- พระชายาซูซ็อง ตระกูลคิม (수성군부인 김씨)
- เจ้าหญิงชังรย็อง (재령군주)
- อี เก, เจ้าชายซุนซอง (이개 순성군)
- เจ้าหญิงยังช็อน (영천군주)
- อี โพ, เจ้าชายฮัมยาง (이포 함양군)
- อี ฮเย, เจ้าชายซอซาน (이혜 서산군)
- เจ้าหญิงยองพย็อง (영평현주)
พงศาวลี
[แก้]พงศาวลีของเจ้าชายยังนย็อง | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
|
อ้างอิง
[แก้]- ↑ ในปฏิทินจันทรคติ, 6 สิงหาคม ค.ศ. 1404 - 3 มิถุนายน ค.ศ. 1418
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- Prince Yangnyeong:Korean historical person information เก็บถาวร 2012-06-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (ในภาษาเกาหลี)
- 왕위 버리고 자유 택하다 오마이뉴스 2006.09.15
- Prince Yangnyeong:Navercast (ในภาษาเกาหลี)
- Prince Yangnyeong (ในภาษาเกาหลี)
บรรณานุกรม
[แก้]- Kim Haboush, JaHyun and Martina Deuchler (1999). Culture and the State in Late Chosŏn Korea. Cambridge: Harvard University Press. ISBN 9780674179820; OCLC 40926015
- Lee, Peter H. (1993). Sourcebook of Korean Civilization, Vol. 1. New York: Columbia University Press. ISBN 9780231079129; ISBN 9780231079143; ISBN 9780231104449; OCLC 26353271
- Lee Bae-yong (2008). Women in Korean History. Seoul: Ewha Womans University Press. ISBN 9788973007721