อัลมุฮาซิบี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อัลฮาริษ อัลมุฮาซิบี
المحاسبي
ส่วนบุคคล
เกิดค.ศ. 781
ฮ.ศ. 170
บัสรา รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์
มรณภาพค.ศ. 857 (73 ปี)
ฮ.ศ. 243
แบกแดด รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์
ศาสนาอิสลาม
ชาติพันธุ์อาหรับ
ยุคยุคทองของอิสลาม
ภูมิภาครัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์
นิกายซุนนี
สำนักคิดชาฟิอี
ลัทธิกุลลาบี[1]
ความสนใจหลักลัทธิศูฟี, อะกีดะฮ์, กะลาม (เทววิทยาอิสลาม)
แนวคิดโดดเด่นสำนักปรัชญาอิสลามแบกแดด, มุฮาซะบะฮ์
ผลงานโดดเด่นKitab al-Khalwa, Kitab al-Ri`aya li-huquq Allah, Kitab al-Wasaya
ตำแหน่งชั้นสูง

อัลมุฮาซิบี (อาหรับ: المحاسبي; ค.ศ. 781–857) เป็นนักเทววิทยา, นักปรัชญา และนักพรตนิยมชาวอาหรับมุสลิม ถือเป็นผู้ก่อตั้งสำนักปรัชญาอิสลามแบกแดดที่ผสมกะลามกับลัทธิศูฟี และยังเป็นครูของซิรรี อัสซะเกาะฏีและญุนัยด์ อัลบัฆดาดี

ชื่อเต็มของเขาคือ อะบู อับดุลลอฮ์ ฮาริษ อิบน์ อะซัด อิบน์ อับดุลลอฮ์ อัลอะนิซี อัลบัศรี และมาจากอาหรับเผ่าอะนิซะฮ์ เขาเป็นผู้ก่อตั้งสิ่งที่ภายหลังกลายเป็นหลักคำสอนศูฟีสายหลัก และมีอิทธิพลต่อนักเทววิทยายุคหลัง เช่น อัลเฆาะซาลี

เขาเป็นผู้เขียนผลงานประมาณ 200 ชิ้น[3] โดยมีเนื้อเกี่ยวกับเทววิทยาและ ตะเศาวุฟ (ลัทธิศูฟี), ผลงานเหล่านี้ ได้แก่ Kitab al-Khalwa และ Kitab al-Ri`aya li-huquq Allah

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 Yücedoğru, Tevfik. "Ebu’l Abbâs el-Kalânîsî’nin Kelâmî Görüşleri." Review of the Faculty of Theology of Uludag University 20.2 (2011). p.1 "Ibn Kullab al-Basri is the first representative of the new tendency in Islamic theology. Harith b. Asad al-Muhasibi and Abu'l-Abbas al-Qalanisi are the persons who are worth to be mentioned in this context as his followers..."
  2. Van Ess, Josef. "Ibn Kullab et la mihna." Arabica 37.2 (1990): 173-233.
  3. Gavin Picken, Spiritual Purification in Islam: The Life and Works of al-Muhasibi, Routledge (2011), p. 67

อ่านเพิ่ม[แก้]

  • Picken, Gavin (2020). "al-Ḥārith al-Muḥāsibī and Spiritual Purification between Asceticism and Mysticism". ใน Ridgeon, Lloyd (บ.ก.). Routledge Handbook on Sufism (1st ed.). Routledge. ISBN 9781138040120.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]