อัยการ
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
คำสำคัญ "อัยการ" มีความหมายว่า การของเจ้า, โดยสามารถหมายถึง
กฎหมาย[แก้]
- กฎหมายไทย - โบราณเรียกตัวบทกฎหมายว่า "พระอัยการ"
หน่วยงาน[แก้]
- สำนักงานอัยการสูงสุด - ชื่อสำนักงานของไทยที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญาทั้งปวง ดำเนินคดีแพ่ง และให้คำปรึกษาด้านกฎหมายแก่รัฐบาลและหน่วยงานของรัฐ ตลอดจนคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนและอำนาจหน้าที่ตามที่กำหนดไว้ในกฎหมาย, เดิมเรียก "กรมอัยการ" ปัจจุบันเรียก "องค์กรอัยการ" ซึ่งเป็นองค์กรตามรัฐธรรมนูญ มีอิสระ และไม่อยู่ภายใต้การบังคับบัญชาของหน่วยงานใด
- กรมอัยการสูงสุดแห่งออสเตรเลีย - ชื่อกรมหนึ่งของออสเตรเลียที่มีหน้าที่อย่างเดียวกับสำนักงานอัยการสูงสุดของไทย
บุคคล[แก้]
- พนักงานอัยการ
- อัยการสูงสุด - ประมุขของข้าราชการอัยการ
ประเทศไทย[แก้]
- พนักงานอัยการไทย - เจ้าพนักงานของประเทศไทยผู้ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะทนายแผ่นดิน เพื่ออำนวยความยุติธรรม รักษาผลประโยชน์ของรัฐ และคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน, "ข้าราชการอัยการ" ก็เรียก, โบราณเรียก "พนักงานรักษาพระอัยการ" "ยกกระบัตร" หรือ "ยกบัตร" ซึ่งคำว่าอัยการแปลว่า การของเจ้าแผ่นดิน
- อัยการสูงสุด (ประเทศไทย) - หัวหน้าพนักงานอัยการไทย
สถานที่[แก้]
![]() |
หน้าแก้ความกำกวมนี้รวมบทความที่มีชื่อเหมือนหรือใกล้เคียงกัน ถ้าลิงก์ภายในใดนำคุณมาหน้านี้ คุณอาจต้องการแก้ไขลิงก์ให้ชี้ไปยังหน้าที่ต้องการโดยตรง |