ราฟฟิโนส

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ราฟฟิโนส
ชื่อ
IUPAC name
(2R,3R,4S,5S,6R)-2-[(2S,3S,4S,5R)-3,4-dihydroxy-2,5-bis(hydroxymethyl)oxolan-2-yl]oxy-6-[[(2S,3R,4S,5R,6R)-3,4,5-trihydroxy-6-(hydroxymethyl)oxan-2-yl]oxymethyl]oxane-3,4,5-triol
ชื่ออื่น
rafinosa
D-(+)-Raffinose
D-Raffinose
D-raffinose pentahydrate
Gossypose
Melitose
Melitriose
NSC 170228
NSC 2025
6G-α-D-galactosylsucrose;
β-D-fructofuranosyl-O-α-D-galactopyranosyl-(1→6)-α-D-glucopyranoside hydrate(1:5)
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ChEBI
ChEMBL
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.007.407 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
EC Number
UNII
  • InChI=1S/C18H32O16/c19-1-5-8(22)11(25)13(27)16(31-5)30-3-7-9(23)12(26)14(28)17(32-7)34-18(4-21)15(29)10(24)6(2-20)33-18/h5-17,19-29H,1-4H2/t5-,6-,7-,8+,9-,10-,11+,12+,13-,14-,15+,16+,17-,18+/m1/s1 checkY
    Key: MUPFEKGTMRGPLJ-ZQSKZDJDSA-N checkY
  • InChI=1S/C18H32O16/c19-1-5-8(22)11(25)13(27)16(31-5)30-3-7-9(23)12(26)14(28)17(32-7)34-18(4-21)15(29)10(24)6(2-20)33-18/h5-17,19-29H,1-4H2/t5-,6-,7-,8+,9-,10-,11+,12+,13-,14-,15+,16+,17-,18+/m1/s1
    Key: MUPFEKGTMRGPLJ-ZQSKZDJDBO
  • Key: MUPFEKGTMRGPLJ-ZQSKZDJDSA-N
  • C([C@@H]1[C@@H]([C@@H]([C@H]([C@H](O1)OC[C@@H]2[C@H]([C@@H]([C@H]([C@H](O2)O[C@]3([C@H]([C@@H]([C@H](O3)CO)O)O)CO)O)O)O)O)O)O)O
คุณสมบัติ
C18H32O16
มวลโมเลกุล 504.438 g/mol (pentahydrate)
จุดหลอมเหลว 118 °C
203 g/L
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

ราฟฟิโนส (อังกฤษ: raffinose) เป็นไตรแซ็กคาไรด์ที่ประกอบด้วยกาแล็กโทส ฟรักโทส และกลูโคส ลักษณะเป็นผลึกของแข็งไม่มีสี มีสูตรเคมีคือ C18H32O16 มีน้ำหนักโมเลกุลคือ 504.438 g/mol[1] บางครั้งราฟฟิโนสอาจพบในรูปผลึกของแข็งสีขาว ไม่มีกลิ่น มีรสหวานประมาณ 10% ของซูโครส[2] ชื่อราฟฟิโนสมาจากคำภาษาฝรั่งเศส raffiner แปลว่า ฟอกหรือทำให้บริสุทธิ์[3]

ราฟฟิโนสเป็นหนึ่งในโอลิโกแซ็กคาไรด์ที่มีแกนเป็นซูโครส เรียกว่า ตระกูลราฟฟิโนสของโอลิโกแซ็กคาไรด์ (raffinose family of oligosaccharides หรือ RFO) RFO เป็นสารอนุพันธ์แอลฟา-กาแลกโตซิลของซูโครสที่พบในพืชหลายชนิด เช่น ถั่ว กะหล่ำปลี กะหล่ำดาว บรอกโคลี หน่อไม้ฝรั่ง และธัญพืชเต็มเมล็ด มนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่น เช่น หมู และสัตว์ปีกไม่สามารถย่อยราฟฟิโนสได้เนื่องจากไม่มีเอนไซม์แอลฟา-กาแล็กโตซิเดส (α-GAL) ที่ใช้ย่อย RFO ทำให้เกิดการหมักหมมในลำไส้ส่วนล่างและทำให้ท้องอืด[4][5] ในขณะที่สิ่งมีชีวิตที่มีเอนไซม์ α-GAL จะสามารถเปลี่ยนราฟฟิโนสให้เป็นกาแล็กโทสและซูโครสผ่านกระบวนการไฮโดรไลซิส

ราฟฟิโนสและซูโครสใช้เป็นสารพื้นฐานในการผลิตซูคราโลส และเป็นส่วนประกอบในมอยเจอไรเซอร์ พรีไบโอติกส์ และวัตถุเจือปนในอาหาร[2]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Definition of raffinose". Dictionary.com. สืบค้นเมื่อ October 6, 2019.
  2. 2.0 2.1 "D(+)-Raffinose pentahydrate | 17629-30-0". www.chemicalbook.com. สืบค้นเมื่อ 2019-08-19.
  3. Durkin, Philip (2014). Borrowed Words: A History of Loanwords in English. Oxford, United Kingdom: Oxford University Press. p. 342. ISBN 9780191667060.
  4. Benkeblia, Noureddine (2017). Polysaccharides: Natural Fibers in Food and Nutrition. Boca Raton, Florida, United States: CRC Press, Taylor & Francis Group. p. 208–209. ISBN 9781466571815.
  5. Stick, Robert V.; Williams, Spencer J. (2009). Carbohydrates: The Essential Molecules of Life. Oxford, United Kingdom: Elsevier. p. 329–330. ISBN 9780240521183.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]