ฟุตบอลโลกหญิง 2023

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลโลกหญิง 2023
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพออสเตรเลีย
นิวซีแลนด์
วันที่20 กรกฎาคม – 20 สิงหาคม
ทีม32 (จาก 6 สมาพันธ์)
สถานที่10 (ใน 9 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติสเปน สเปน (สมัยที่ 1)
รองชนะเลิศธงชาติอังกฤษ อังกฤษ
อันดับที่ 3ธงชาติสวีเดน สวีเดน
อันดับที่ 4ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน64
จำนวนประตู164 (2.56 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม1,978,274 (30,911 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดญี่ปุ่น ฮินาตะ มิยาซาวะ (5 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมสเปน ไอทานา บอนมาติ
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมอังกฤษ แมรี อาร์ปส์
ผู้เล่นดาวรุ่งยอดเยี่ยมสเปน ซัลมา ปาราลลูเอโล
รางวัลแฟร์เพลย์ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น

ฟุตบอลโลกหญิง 2023 (อังกฤษ: 2023 FIFA Women's World Cup) คือ การแข่งขันฟุตบอลโลกหญิง ครั้งที่ 9 ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลหญิงระดับนานาชาติโดยการแข่งขันฟุตบอลโลกหญิงครั้งนี้จำนวนของทีมจะมีการเพิ่มจาก 24 ทีมเป็น 32 ทีมเข้าร่วมการแข่งขันเป็นครั้งแรก มีจำนวนของการแข่งขันเพิ่มขึ้นจาก 52 คู่เพิ่มขึ้นเป็น 64 คู่โดยเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน ค.ศ. 2020 ฟีฟ่าได้มีการประกาศประเทศที่จะเป็นเจ้าภาพฟุตบอลโลกหญิงครั้งนี้ออกมาแล้ว คือ ประเทศออสเตรเลียและนิวซีแลนด์เป็นเจ้าภาพร่วมกัน

การคัดเลือกเจ้าภาพ[แก้]

มี 7 ประเทศที่เสนอตัวเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน

การตัวเป็นเจ้าภาพ FIFA WWC 2023 (เสียงข้างมาก 18 เสียง)
ประเทศที่เสนอตัว โหวต
รอบที่ 1
ออสเตรเลีย
นิวซีแลนด์
22
โคลอมเบีย 13
งดออกเสียง 2
คะแนนโหวตทั้งหมด 35

ทีม[แก้]

รอบคัดเลือก[แก้]

หมายเหตุ: ตัวเลขในวงเล็บระบุจำนวนผู้เข้าร่วมขั้นต่ำและสูงสุดที่สามารถผ่านเกณฑ์จากแต่ละสมาพันธ์[1]

การจับสลาก[แก้]

การจับสลากรอบสุดท้ายได้จัดขึ้นที่ อาโอที เซ็นเตอร์ ใน ออคแลนด์, ประเทศนิวซีแลนด์, ในวันที่ 22 ตุลาคม ค.ศ. 2022 ณ เวลา 19:30 NZDT (UTC+13), ก่อนหน้าที่จะเสร็จสิ้นของ รอบคัดเลือก.[2][3]

สนามแข่งขัน[แก้]

ออสเตรเลีย[แก้]

ซิดนีย์ บริสเบน
Stadium Australia Sydney Football Stadium Lang Park
(Brisbane Stadium)
ความจุ: 83,500 ความจุ: 45,000
(under construction)
ความจุ: 52,500
Sydney Football Stadium
เมลเบิร์น เพิร์ท แอดิเลด
Melbourne Rectangular Stadium Perth Rectangular Stadium Hindmarsh Stadium
ความจุ: 30,050 ความจุ: 22,500 ความจุ: 16,500 (expanding to 22,000)

นิวซีแลนด์[แก้]

ออกแลนด์ เวลลิงตัน ดะนีดิน
Eden Park Wellington Regional Stadium Forsyth Barr Stadium
(Dunedin Stadium)
ความจุ: 50,000 ความจุ: 34,500 ความจุ: 30,748
Hamilton
New Zealand host cities
Waikato Stadium
ความจุ: 25,800

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

โปรแกรมการแข่งขันสำหรับทัวร์นาเมนต์นี้, นอกเหนือจากเวลาคิกออฟ, จะถูกปล่อยออกมาเมือวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2564.[4][5]

กลุ่ม เอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 3 1 2 0 2 0 +2 5 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์ 3 1 1 1 6 1 +5 4
3 ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ (H) 3 1 1 1 1 1 0 4
4 ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ 3 1 0 2 1 8 −7 3
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
(H) เจ้าภาพ.

กลุ่ม บี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย (H) 3 2 0 1 7 3 +4 6 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย 3 1 2 0 3 2 +1 5
3 ธงชาติแคนาดา แคนาดา 3 1 1 1 2 5 −3 4
4 ธงชาติสาธารณรัฐไอร์แลนด์ ไอร์แลนด์ 3 0 1 2 1 3 −2 1
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
(H) เจ้าภาพ.

กลุ่ม ซี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 3 3 0 0 11 0 +11 9 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติสเปน สเปน 3 2 0 1 8 4 +4 6
3 ธงชาติแซมเบีย แซมเบีย 3 1 0 2 3 11 −8 3
4 ธงชาติคอสตาริกา คอสตาริกา 3 0 0 3 1 8 −7 0
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า

กลุ่ม ดี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ 3 3 0 0 8 1 +7 9 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติเดนมาร์ก เดนมาร์ก 3 2 0 1 3 1 +2 6
3 ธงชาติจีน จีน 3 1 0 2 2 7 −5 3
4 ธงชาติเฮติ เฮติ 3 0 0 3 0 4 −4 0
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า

กลุ่ม อี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 3 2 1 0 9 1 +8 7 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 3 1 2 0 4 1 +3 5
3 ธงชาติโปรตุเกส โปรตุเกส 3 1 1 1 2 1 +1 4
4 ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม 3 0 0 3 0 12 −12 0
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า

กลุ่ม เอฟ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 3 2 1 0 8 4 +4 7 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติจาเมกา จาเมกา 3 1 2 0 1 0 +1 5
3 ธงชาติบราซิล บราซิล 3 1 1 1 5 2 +3 4
4 ธงชาติปานามา ปานามา 3 0 0 3 3 11 −8 0
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า

กลุ่ม จี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติสวีเดน สวีเดน 3 3 0 0 9 1 +8 9 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้ 3 1 1 1 6 6 0 4
3 ธงชาติอิตาลี อิตาลี 3 1 0 2 3 8 −5 3
4 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 3 0 1 2 2 5 −3 1
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า

กลุ่ม เอช[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย 3 2 0 1 4 2 +2 6 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติโมร็อกโก โมร็อกโก 3 2 0 1 2 6 −4 6
3 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 3 1 1 1 8 3 +5 4
4 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 3 0 1 2 1 4 −3 1
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า

รอบแพ้คัดออก[แก้]

สายการแข่งขัน[แก้]

 
รอบ 16 ทีมสุดท้ายรอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
              
 
5 สิงหาคม – ออคแลนด์
 
 
ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์1
 
11 สิงหาคม – เวลลิงตัน
 
ธงชาติสเปน สเปน5
 
ธงชาติสเปน สเปน
(ต่อเวลา)
2
 
6 สิงหาคม – ซิดนีย์ (ฟุตบอล)
 
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์1
 
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์2
 
15 สิงหาคม – ออคแลนด์
 
ธงชาติแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้0
 
ธงชาติสเปน สเปน2
 
5 สิงหาคม – เวลลิงตัน
 
ธงชาติสวีเดน สวีเดน1
 
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น3
 
11 สิงหาคม – ออคแลนด์
 
ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์1
 
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น1
 
6 สิงหาคม – เมลเบิร์น
 
ธงชาติสวีเดน สวีเดน2
 
ธงชาติสวีเดน สวีเดน
(ลูกโทษ)
0 (5)
 
20 สิงหาคม – ซิดนีย์ (ออสเตรเลีย)
 
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ0 (4)
 
ธงชาติสเปน สเปน1
 
7 สิงหาคม – ซิดนีย์ (ออสเตรเลีย)
 
ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ0
 
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย2
 
12 สิงหาคม – บริสเบน
 
ธงชาติเดนมาร์ก เดนมาร์ก0
 
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
(ลูกโทษ)
0 (7)
 
8 สิงหาคม – อะเดลิด
 
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส0 (6)
 
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส4
 
16 สิงหาคม – ซิดนีย์ (ออสเตรเลีย)
 
ธงชาติโมร็อกโก โมร็อกโก0
 
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย1
 
7 สิงหาคม – บริสเบน
 
ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ3 เพลย์ออฟ อันดับที่ 3
 
ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ
(ลูกโทษ)
0 (4)
 
12 สิงหาคม – ซิดนีย์ (ออสเตรเลีย)19 สิงหาคม – บริสเบน
 
ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย0 (2)
 
ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ2ธงชาติสวีเดน สวีเดน2
 
8 สิงหาคม – เมลเบิร์น
 
ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย1 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย0
 
ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย1
 
 
ธงชาติจาเมกา จาเมกา0
 

รอบ 16 ทีมสุดท้าย[แก้]

สวิตเซอร์แลนด์ ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์1–5ธงชาติสเปน สเปน
โคดินา Goal 11' (เข้าประตูตัวเอง) รายงาน
ผู้ชม: 43,217 คน
ผู้ตัดสิน: Cheryl Foster (เวลส์)





ออสเตรเลีย ธงชาติออสเตรเลีย2–0ธงชาติเดนมาร์ก เดนมาร์ก
รายงาน


ฝรั่งเศส ธงชาติฝรั่งเศส4–0ธงชาติโมร็อกโก โมร็อกโก
รายงาน

รอบก่อนรองชนะเลิศ[แก้]


ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น1–2ธงชาติสวีเดน สวีเดน
Hayashi Goal 87' รายงาน


อังกฤษ ธงชาติอังกฤษ2–1ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย
รายงาน Santos Goal 44'

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

สเปน ธงชาติสเปน2–1ธงชาติสวีเดน สวีเดน
รายงาน Blomqvist Goal 88'
ผู้ชม: 43,217 คน
ผู้ตัดสิน: Edina Alves Batista (บราซิล)

ออสเตรเลีย ธงชาติออสเตรเลีย1–3ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ
Kerr Goal 63' รายงาน

นัดชิงอันดับที่ 3[แก้]

สวีเดน ธงชาติสวีเดน2–0ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
รายงาน
ผู้ชม: 49,461 คน
ผู้ตัดสิน: Cheryl Foster (เวลส์)

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

สเปน ธงชาติสเปน1–0ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ
Carmona Goal 29' รายงาน

อ้างอิง[แก้]

  1. ""FIFA Women's World Cup play-offs"". 10 October 2022. สืบค้นเมื่อ 10 October 2022.
  2. "Auckland/Tāmaki Makaurau to host the Draw for the FIFA Women's World Cup 2023 in October". FIFA. 12 May 2022. สืบค้นเมื่อ 13 May 2022.
  3. "New Zealand to host FIFA Women's World Cup 2023™ Draw". Government of New Zealand. 13 May 2022. สืบค้นเมื่อ 21 September 2022.
  4. "Match schedule confirmed for FIFA Women's World Cup 2023". FIFA. 1 December 2021. สืบค้นเมื่อ 1 December 2021.
  5. "Match schedule: FIFA Women's World Cup Australia & New Zealand 2023" (PDF). FIFA. 1 December 2021. สืบค้นเมื่อ 1 December 2021.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]