ฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2018
รายละเอียดการแข่งขัน | |
---|---|
ประเทศเจ้าภาพ | ![]() |
วันที่ | 7–20 เมษายน พ.ศ. 2561[2] |
ทีม | 8 (จาก 1 สมาพันธ์) |
สถานที่ | 2 (ใน 1 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | ![]() |
รองชนะเลิศ | ![]() |
อันดับที่ 3 | ![]() |
อันดับที่ 4 | ![]() |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 17 |
จำนวนประตู | 66 (3.88 ประตูต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | ![]() |
ผู้เล่นยอดเยี่ยม | ![]() |
รางวัลแฟร์เพลย์ | ![]() |
ฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2018 เป็นการแข่งขันฟุตบอลหญิงของทีมชาติในสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) ครั้งที่ 19 เพื่อชิงชนะเลิศในระดับเอเชียและเพื่อคัดเลือกทีมสู่การแข่งขันฟุตบอลโลกหญิง 2019
รอบคัดเลือก[แก้]
รอบคัดเลือกสำหรับฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2018 จัดขึ้นตั้งแต่วันที่ 3 ถึง 12 เมษายน พ.ศ. 2560[3] ชาติเจ้าภาพคือทาจิกิสถาน ปาเลสไตน์ เกาหลีเหนือ และเวียดนาม[4]
ทีมที่ผ่านเข้ารอบ[แก้]
ทีม | ได้ผ่านเข้ารอบในฐานะ | ผ่านเข้ารอบครั้งที่ | ผลงานที่ดีที่สุด | อันดับโลกฟีฟ่า เมื่อเริ่มต้นการแข่งขัน |
---|---|---|---|---|
![]() |
เจ้าภาพ | 2 | รอบแบ่งกลุ่ม (2014) | 51 |
![]() |
ชนะเลิศ ฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2014 | 16 | ชนะเลิศ (2014) | 11 |
![]() |
รองชนะเลิศ ฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2014 | 6 | ชนะเลิศ (2010) | 6 |
![]() |
อันดับที่สาม ฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2014 | 14 | ชนะเลิศ (1986, 1989, 1991, 1993, 1995, 1997, 1999, 2006) | 17 |
![]() |
รองชนะเลิศ รอบคัดเลือก กลุ่ม เอ[note 1] | 9 | รอบแบ่งกลุ่ม (1981, 1983, 1993, 1995, 1997, 1999, 2001, 2003) | 72 |
![]() |
ชนะเลิศ รอบคัดเลือก กลุ่ม บี | 12 | อันดับที่สาม (2003) | 16 |
![]() |
ชนะเลิศ รอบคัดเลือก กลุ่ม ซี | 16 | ชนะเลิศ (1983) | 30 |
![]() |
ชนะเลิศ รอบคัดเลือก กลุ่ม ดี | 8 | อันดับที่หก (2014) | 35 |
หมายเหตุ:
สนามแข่งขัน[แก้]
การแข่งขันจะลงเล่นในสองสนามในเมือง อัมมาน.
สนามกีฬานานาชาติอัมมาน | สนามกีฬากษัตริย์อับดุลลาห์ที่สอง | |
---|---|---|
ความจุ: 17,619 | ความจุ: 13,000 | |
![]() |
การจับสลาก[แก้]
การจับสลากแบ่งสายในรอบสุดท้ายจัดขึ้นเมื่อเวลา 13:00 น. ของวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2560 ตามเวลายุโรปตะวันออก (UTC+2) ที่คิงฮุสเซนบินทาลาลคอนเวนชันเซ็นเตอร์บนชายฝั่งตะวันออกของทะเลเดดซี[6] การจัดอันดับทีมเป็นไปตามผลงานที่ทำได้ในฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2014 ทั้งรอบสุดท้ายและรอบคัดเลือก โดยจอร์แดนซึ่งเป็นเจ้าภาพจะเป็นทีมวางและได้อยู่ในตำแหน่ง เอ1 ในการจับสลาก
โถ 1 | โถ 2 | โถ 3 | โถ 4 |
---|---|---|---|
3. |
7. |
ผู้เล่น[แก้]
แต่ละทีมจะต้องลงทะเบียนผู้เล่นอย่างน้อย 18 คนและไม่เกิน 23 คน โดยอย่างน้อยสามคนต้องเป็นผู้รักษาประตู (บทความข้อบังคับที่ 31.4 และ 31.5)[7]
รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]
สองทีมที่ดีที่สุดของแต่ละกลุ่มจะได้สิทธิ์สำหรับฟุตบอลโลกหญิง 2019 รวมทั้งได้ผ่านเข้าสู่รอบรองชนะเลิศ ทีมอันดับที่สามของแต่ละกลุ่มจะเข้าสู่นัดชิงอันดับที่ห้า
เวลาทั้งหมดคือเวลาท้องถิ่น เวลาออมแสงยุโรปตะวันออก (UTC+3)
นัดที่ | วันที่ | นัด |
---|---|---|
นัดที่ 1 | 6–7 เมษายน 2561 | 1 พบ 4, 2 พบ 3 |
นัดที่ 2 | 9–10 เมษายน 2561 | 4 พบ 2, 3 พบ 1 |
นัดที่ 3 | 12–13 เมษายน 2561 | 1 พบ 2, 3 พบ 4 |
กลุ่ม เอ[แก้]
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ![]() |
3 | 3 | 0 | 0 | 15 | 1 | +14 | 9 | รอบแพ้คัดออก และ ฟุตบอลโลกหญิง 2019 |
2 | ![]() |
3 | 2 | 0 | 1 | 9 | 6 | +3 | 6 | |
3 | ![]() |
3 | 1 | 0 | 2 | 3 | 7 | −4 | 3 | นัดชิงอันดับที่ 5 |
4 | ![]() |
3 | 0 | 0 | 3 | 3 | 16 | −13 | 0 |
จอร์แดน ![]() | 1–2 | ![]() |
---|---|---|
ญบาเราะห์ ![]() |
รายงาน | คออีร ![]() โบลเดน ![]() |
ฟิลิปปินส์ ![]() | 0–3 | ![]() |
---|---|---|
รายงาน | หม่า จวิน ![]() หลี อิ่ง ![]() |
จอร์แดน ![]() | 1–8 | ![]() |
---|---|---|
ซับบาห์ ![]() |
รายงาน | หวัง ซวง ![]() คออีร ![]() ซ่ง ตวน ![]() หลี อิ่ง ![]() ทัง เจียลี่ ![]() |
กลุ่ม บี[แก้]
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ![]() |
3 | 1 | 2 | 0 | 9 | 1 | +8 | 5[a] | รอบแพ้คัดออก และ ฟุตบอลโลกหญิง 2019 |
2 | ![]() |
3 | 1 | 2 | 0 | 5 | 1 | +4 | 5[a] | |
3 | ![]() |
3 | 1 | 2 | 0 | 4 | 0 | +4 | 5[a] | นัดชิงอันดับที่ 5 |
4 | ![]() |
3 | 0 | 0 | 3 | 0 | 16 | −16 | 0 |
หมายเหตุ :
- ↑ 1.0 1.1 1.2 ผลเฮด-ทู-เฮด: ออสเตรเลีย 0–0 เกาหลีใต้, เกาหลีใต้ 0–0 ญี่ปุ่น, ญี่ปุ่น 1–1 ออสเตรเลีย อันดับเฮด-ทู-เฮด:
- ออสเตรเลีย: 2 คะแนน ผลต่างประตูได้-เสีย 0 ยิงได้ 1 ประตู
- ญี่ปุ่น: 2 คะแนน ผลต่างประตูได้-เสีย 0 ยิงได้ 1 ประตู
- เกาหลีใต้: 2 คะแนน ผลต่างประตูได้-เสีย 0 ยิงได้ 0 ประตู
เวียดนาม ![]() | 0–8 | ![]() |
---|---|---|
รายงาน | ไซมอน ![]() เคนเนดี ![]() โลการ์โซ ![]() ฟาน เอกมอนด์ ![]() เคอร์ ![]() เหงียน ถิ ![]() ราโซ ![]() |
ญี่ปุ่น ![]() | 1–1 | ![]() |
---|---|---|
ซากางูจิ ![]() |
รายงาน | เคอร์ ![]() |
รอบแพ้คัดออก[แก้]
สายการแข่งขัน[แก้]
รอบรองชนะเลิศ | รอบชิงชนะเลิศ | |||||
17 เมษายน – อัมมาน | ||||||
![]() | 1 | |||||
20 เมษายน – อัมมาน | ||||||
![]() | 3 | |||||
![]() | 1 | |||||
17 เมษายน – อัมมาน | ||||||
![]() | 0 | |||||
![]() | 2 (3) | |||||
![]() | 2 (1) | |||||
รอบชิงอันดับที่สาม | ||||||
20 เมษายน – อัมมาน | ||||||
![]() | 3 | |||||
![]() | 1 |
รอบชิงอันดับที่ห้า | ||
16 เมษายน – อัมมาน | ||
![]() | 0 | |
![]() | 5 | |
นัดชิงอันดับที่ 5[แก้]
ผู้ชนะจะได้สิทธิ์สำหรับ ฟุตบอลโลกหญิง 2019.
ฟิลิปปินส์ ![]() | 0–5 | ![]() |
---|---|---|
รายงาน | ชัง เซ็ล-กี ![]() ลี มิน-อา ![]() ลิม ซ็อน-จู ![]() โช โซ-ฮยุน ![]() |
รอบรองชนะเลิศ[แก้]
ออสเตรเลีย ![]() | 2–2 (ต่อเวลาพิเศษ) | ![]() |
---|---|---|
กาญจนาพร ![]() เคนเนดี ![]() |
รายงาน | กาญจนา ![]() รัตติกาล ![]() |
ลูกโทษ | ||
ฟาน เอกมอนด์ ![]() เคลลอนด์-คไนต์ ![]() เดอ วานนา ![]() แคตลีย์ ![]() เคอร์ ![]() |
3–1 | ![]() ![]() ![]() ![]() |
นัดชิงอันดับที่ 3[แก้]
รอบชิงชนะเลิศ[แก้]
ญี่ปุ่น ![]() | 1–0 | ![]() |
---|---|---|
โยโกยามะ ![]() |
รายงาน |
รางวัล[แก้]
ฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2018 |
---|
![]() ญี่ปุ่น ครั้งที่ 2 |
ผู้เล่นทรงคุณค่า | ดาวซัลโวสูงสุด | รางวัลทีมแฟร์เพลย์ |
---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
อันดับดาวซัลโว[แก้]
- 7 ประตู
- 4 ประตู
- 3 ประตู
- 2 ประตู
- 1 ประตู
- 1 ประตูจากการทำเข้าประตูตัวเอง
กาญจนาพร แสนคุณ (ในนัดที่พบกับออสเตรเลีย)
เหงียน ถิ เตวี๊ยต ซุง (ในนัดที่พบกับออสเตรเลีย)
- 2 ประตูจากการทำเข้าประตูตัวเอง
ยัสมีน คออีร (ในนัดที่พบกับจีนและฟิลิปปินส์)
ทีมที่ผ่านเข้ารอบสำหรับฟุตบอลโลกหญิง[แก้]
ด้านล่างนี้คือห้าทีมที่มาจากเอเอฟซีที่จะได้สิทธิ์สำหรับ ฟุตบอลโลกหญิง 2019.
ทีม | วันที่ผ่านเข้ารอบ | การลงสนามครั้งที่ผ่านมาในทัวร์นาเมนต์1 |
---|---|---|
![]() |
9 เมษายน 2561[8] | 6 (1991, 1995, 1999, 2003, 2007, 2015) |
![]() |
12 เมษายน 2561[9] | 1 (2015) |
![]() |
13 เมษายน 2561 | 6 (1995, 1999, 2003, 2007, 2011, 2015) |
![]() |
13 เมษายน 2561 | 7 (1991, 1995, 1999, 2003, 2007, 2011, 2015) |
![]() |
16 เมษายน 2561 | 2 (2003, 2015) |
1 ตัวหนา ระบุถึงชนะเลิศสำหรับปีนั้น. ตัวเอียง ระบุถึงเจ้าภาพสำหรับปีนั้น.
อ้างอิง[แก้]
- ↑ http://www.the-afc.com/media-releases/jordan-to-host-afc-women%E2%80%99s-asian-cup-2018-finals
- ↑ "AFC Competitions Calendar 2018" (PDF). AFC. 12 April 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-05-10. สืบค้นเมื่อ 2017-01-22.
- ↑ "AFC Calendar of Competitions 2017 (UPDATED)" (PDF). the-AFC.com. 12 April 2016. สืบค้นเมื่อ 15 October 2016.
- ↑ http://fft.tj/otborochnyj-turnir-kubka-azii-2018-sredi-zhenskih-sbornyh-projdet-v-dushanbe/
- ↑ "Philippines qualify for the 2018 AFC Women's Asian Cup". AFC. 10 เมษายน พ.ศ. 2560.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|date=
(help) - ↑ "Contenders to learn AFC Women's Asian Cup fate at official draw". AFC. 8 ธันวาคม พ.ศ. 2560.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|date=
(help) - ↑ "AFC Women's Asian Cup 2018 Competition Regulations" (PDF). AFC.
- ↑ "China PR proud to have sealed FIFA Women's World Cup 2019 spot". Asian Football Confederation. 9 เมษายน พ.ศ. 2561. สืบค้นเมื่อ 10 เมษายน พ.ศ. 2561.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
และ|date=
(help) - ↑ "Thailand qualify for second successive Women's World Cup". FIFA.com. 12 เมษายน พ.ศ. 2561. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-04-13. สืบค้นเมื่อ 2018-04-13.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|date=
(help)
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
- AFC Women’s Asian Cup, the-AFC.com