พูดคุย:สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี
เพิ่มหัวข้อบทความนี้ต้องเป็นไปตามนโยบายชีวประวัติของบุคคลที่มีชีวิตอยู่ (BLP) แม้ว่าจะไม่ใช่ชีวประวัติก็ตาม เพราะมีเนื้อหาเกี่ยวกับบุคคลที่มีชีวิตอยู่ เนื้อหาที่มีการโต้เถียงเกี่ยวกับบุคคลที่มีชีวิตซึ่งไม่มีแหล่งที่มา หรือแหล่งที่มาไม่ดีต้องถูกลบออกทันทีจากบทความและหน้าอภิปราย โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่อาจเป็นการหมิ่นประมาท หากใส่เนื้อหาดังกล่าวซ้ำ ๆ หรือหากคุณมีข้อกังวลอื่น ๆ โปรดรายงานปัญหาไปที่กระดานประกาศนี้ หากคุณคือหัวข้อเรื่องบทความนี้ หรือทำหน้าที่แทน และคุณต้องการความช่วยเหลือ โปรดดูหน้าความช่วยเหลือนี้ |
|
|
|
การเปิดดูหน้าเว็บประจำวันของ สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี
กราฟควรแสดงอยู่ที่นี่แต่กราฟถูกปิดใช้งานชั่วคราว จนกว่ากราฟจะเปิดใช้งานอีกครั้ง ดูกราฟเชิงโต้ตอบที่ pageviews.wmcloud.org |
ขอปรึกษา
[แก้]แม้ว่าผมจะเป็นคนเริ่มบทความนี้ แต่ผมขอปรึกษาสมาชิกถึงความสำคัญของบทความนี้ครับว่าสมควรมีหรือไม่ ผมเองก็ไม่แน่ใจครับ ขอบคุณครับ --Mda (พูดคุย) 16:26, 9 มกราคม 2558 (ICT)
คำนำหน้าชื่อ
[แก้]ผมว่าท่านน่าจะใช้คำนำหน้าชื่อว่า "คุณ" มากกว่าท่านผู้หญิงหรือไม่ครับ เพราะโดยนิตินัยแล้วคงถือว่าท่านยังมิได้สมรส ควรใช้คำนำหน้านามว่าคุณ มากกว่าท่านผู้หญิงนะครับ (ในความคิดของผม)
ควรเรียกขานตามยศ
[แก้]สมัยที่ยังเป็นสามัญชนควรใช้คำเรียกตามนั้นหรือเปล่าครับ นี่พอเป็นราชินีแล้วทั้งบทความก็เป็นราชินีหมดเลย ตัวอย่างเช่น "สุทิตาเกิดเมื่อ..." ต่อมา "ทรงดำรงพระอิสริยยศสมเด็จพระราชินี" --Horus, จริงอย่างเดียวไม่พอต้อง ... ด้วย (พูดคุย) 22:13, 1 พฤษภาคม 2562 (ICT)
- จากกรณีสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ มีพระกำเนิดเป็น ม.ร.ว. พระราชประวัติก็ไม่ใช้คำว่าเกิด เข้าใจว่าใช้ราชาศัพท์ย้อนหลังได้ครับ --พุทธามาตย์ (คุย) 22:23, 1 พฤษภาคม 2562 (ICT)
- เป็น convention ทั่วไปใช่ไหมครับ คือไม่ใช่ว่าในวิกิพีเดียยึดถือกันเองน่ะครับ --Horus, จริงอย่างเดียวไม่พอต้อง ... ด้วย (พูดคุย) 22:27, 1 พฤษภาคม 2562 (ICT)
- ผมยังไม่พบว่าตำราเกี่ยวกับราชาศัพท์ระบุกฎเกณฑ์เรื่องนี้ไว้ แต่เท่าที่ใช้กันมาก็เป็นแบบนั้นครับ เช่น หนังสือของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาฯ ชื่อ "สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ หน้า 19" ก็ใช้คำว่าเสด็จพระราชสมภพ ครับ --พุทธามาตย์ (คุย) 22:43, 1 พฤษภาคม 2562 (ICT)
- ขอบคุณครับ --Horus, จริงอย่างเดียวไม่พอต้อง ... ด้วย (พูดคุย) 22:53, 1 พฤษภาคม 2562 (ICT)
- ผมยังไม่พบว่าตำราเกี่ยวกับราชาศัพท์ระบุกฎเกณฑ์เรื่องนี้ไว้ แต่เท่าที่ใช้กันมาก็เป็นแบบนั้นครับ เช่น หนังสือของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาฯ ชื่อ "สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ หน้า 19" ก็ใช้คำว่าเสด็จพระราชสมภพ ครับ --พุทธามาตย์ (คุย) 22:43, 1 พฤษภาคม 2562 (ICT)
- เป็น convention ทั่วไปใช่ไหมครับ คือไม่ใช่ว่าในวิกิพีเดียยึดถือกันเองน่ะครับ --Horus, จริงอย่างเดียวไม่พอต้อง ... ด้วย (พูดคุย) 22:27, 1 พฤษภาคม 2562 (ICT)
- จากกรณีสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ มีพระกำเนิดเป็น ม.ร.ว. พระราชประวัติก็ไม่ใช้คำว่าเกิด เข้าใจว่าใช้ราชาศัพท์ย้อนหลังได้ครับ --พุทธามาตย์ (คุย) 22:23, 1 พฤษภาคม 2562 (ICT)
รูป
[แก้]รูปไม่สมพระเกียรติพระองค์เลยครับ KKWE 5593 (คุย) 00:11, 6 พฤษภาคม 2562 (ICT)
"เรซูเม"
[แก้]ส่วน การรับราชการ และ พระยศทหาร ดูเป็นเรซูเม อาจดูตัวอย่างบทความเจ้าที่เป็นทหารดูว่าควรเขียนอย่างไร และไม่ควรอ้างราชกิจจานุเบกษาเพราะเป็นแหล่งข้อมูลปฐมภูมิ ถ้าเอาแหล่งอ้างอิงทุติยภูมิมาจะช่วยกรองความสำคัญได้ครับ --Wedjet (คุย) 03:17, 6 พฤษภาคม 2562 (ICT)
- เห็นด้วยว่าหัวข้อการรับราชการเป็นเรซูเม ควรเรียบเรียงใหม่ แต่ส่วนพระยศทหาร เทียบกับวิกิภาษาอังกฤษ en:List of titles and honours of Elizabeth II#Military_ranks ก็พบว่านำเสนอข้อมูลแบบเดียวกัน ส่วนตัวเห็นว่าการระบุลำดับพระยศแบบเรซูเมเหมาะสมกับกรณีนี้ ส่วนราชกิจจานุเบกษา ผมไม่แน่ใจว่าถือเป็นแหล่งข้อมูลปฐมภูมิหรือไม่ เพราะตำราวิชาการหลายเล่มแยกอ้างอิงสองส่วนนี้ออกจากกัน เอกสารราชการปฐมภูมิคือเอกสารจริง ที่มีเลขหนังสือ แต่ราชกิจจาฯ เป็นวารสารที่เผยแพร่ตัวสำเนาเอกสารราชการเพื่อให้ประชาชนทราบครับ --พุทธามาตย์ (คุย) 09:26, 17 มิถุนายน 2562 (ICT)
- ถ้าราชกิจลอกมาจาก primary source เลยก็คงไม่มีผลอะไรครับ ปกติสารานุกรมจะรวบรวมข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์สังเคราะห์จาก secondary source มาก่อนครับ --Wedjet (คุย) 13:29, 17 มิถุนายน 2562 (+07)
- เห็นด้วยว่าหัวข้อการรับราชการเป็นเรซูเม ควรเรียบเรียงใหม่ แต่ส่วนพระยศทหาร เทียบกับวิกิภาษาอังกฤษ en:List of titles and honours of Elizabeth II#Military_ranks ก็พบว่านำเสนอข้อมูลแบบเดียวกัน ส่วนตัวเห็นว่าการระบุลำดับพระยศแบบเรซูเมเหมาะสมกับกรณีนี้ ส่วนราชกิจจานุเบกษา ผมไม่แน่ใจว่าถือเป็นแหล่งข้อมูลปฐมภูมิหรือไม่ เพราะตำราวิชาการหลายเล่มแยกอ้างอิงสองส่วนนี้ออกจากกัน เอกสารราชการปฐมภูมิคือเอกสารจริง ที่มีเลขหนังสือ แต่ราชกิจจาฯ เป็นวารสารที่เผยแพร่ตัวสำเนาเอกสารราชการเพื่อให้ประชาชนทราบครับ --พุทธามาตย์ (คุย) 09:26, 17 มิถุนายน 2562 (ICT)
ภาพ
[แก้]ภาพของพระองค์ควรเป็นภาพที่เป็นภาพพระราชทานแต่บางครั้งเป็นรูปตอนงานแรกขวัญฯครับ ความคิดเห็นส่วนตัวผมชอบภาพพระราชทานมากกว่าครับ จันทร์ธาดา (คุย) 20:23, 10 มิถุนายน 2562 (ICT)