พูดคุย:กบฏบวรเดช

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
เพิ่มหัวข้อ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

หน้านี้เป็นหน้าพูดคุยสำหรับการแสดงความเห็นเพื่อพัฒนาบทความ กบฏบวรเดช

กบฏบวรเดช เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิประเทศไทยและสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับประเทศไทย ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ กบฏบวรเดช หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 พอใช้  บทความนี้อยู่ที่ระดับพอใช้ ตามการจัดระดับการเขียนบทความ
กบฏบวรเดช เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิการเมืองและสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับการเมือง ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ กบฏบวรเดช หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 พอใช้  บทความนี้อยู่ที่ระดับพอใช้ ตามการจัดระดับการเขียนบทความ
กบฏบวรเดช เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิประวัติศาสตร์และสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับประวัติศาสตร์โลก เพื่อเป็นแนวทางสำหรับการศึกษาค้นคว้าที่น่าเชื่อถือสำหรับผู้อ่าน ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ กบฏบวรเดช หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 พอใช้  บทความนี้อยู่ที่ระดับพอใช้ ตามการจัดระดับการเขียนบทความ

ขอเพิ่มเติม[แก้]

เดี๋ยวจะแปลเอง (หรือถ้ามีคนอื่นอยากเขียนเพิ่มเติมก็ตามใจ):

On 31 January 1933, the King sent a letter to the Premier requesting that all political parties be established. On 14 April, the Premier disbanded the People's Party. He later adjourned the legislature and reshuffled the leadership of the Army, giving leadership to Phraya Phichaisongkhram and Phraya Sri Sithi Songkhram, both military leaders during the absolute monarchy. On 20 June, the remnants of the People's Party military faction seized power and reinstated the legislature.

In August 1933, the government began registering candidates for village representatives who would cast votes in indirect elections for half of the legislature. It also started registering candidates for the legislature. Elections in some provinces started in October, but most were held in November.

During the midst of the elections, in October 1933, royalist factions led by Prince Boworadej and Phraya Sri Sitthi Songkhram led a rebellion against the government. After two weeks of violent fighting, during which Bangkok was bombed and Sri Sitthi Songkhram was killed, the People's Party defeated the rebels. Prince Boworadej fled abroad. Prince King Prajadhipok, who claimed neutrality during the conflict, fled to England a few weeks after the defeat.

From London, the King issued an ultimatum: in exchange for his return, and the legitimacy it lended to the People's Party, the King demanded several constitutional reforms. This included the right to select half of the legislature, control over the royal budget, and veto power that could be overridden only by a 3/4's majority of the legislature. The King also demanded the right to try capital cases, in this case, to free rebel soldiers. At the time, the New York Times reported that the King also threatened to sell the throne's substantial assets, including land, palaces, and the Emerald Buddha. The People's Party rejected the ultimatum, and in March 1935, Prajadhipok abdicated.

อ้างอิง

  • Eiji Murashima, Democracy and the Development of Political Parties in Thailand, 1932-1945, Chapter 1 of Eiji Murashima, Nakharin Mektrairat, and Somkiat Wanthana, The Making of Modern Thai Political Parties, Joint Research Programme Series No.86, Institute of Developing Economies, Tokyo, 1991
  • The New York Times, 22 January 1935

เอามาจากไหนเหรอครับ ?

อภิปรายความไม่เป็นกลาง[แก้]

NPOV - และเหตุผลของคณะราษฏรละ?

ช่วยขยายสาเหตุนี้หน่อยได้ไหมครับ เผื่อผมจะช่วยให้หน้านี้ผ่านความไม่เป็นกลางได้--Iamion 21:29, 5 ตุลาคม 2007 (ICT)

สาเหตุที่ทำอะไรครับ? Vee 22:31, 9 ธันวาคม 2007 (ICT)
อ่านแล้วก็ยังงงๆอยู่ครับ ว่าทำไมไม่ผ่านความเป็นกลาง Vee 22:33, 9 ธันวาคม 2007 (ICT)


      • ความเป็นกลางไม่เป็นกลาง

อย่างน้อย คือ ในงานศึกษาด้านประวัติศาสตร์การเมือง การใช้คำนิยาม หรือ term ทางการเมือง สังคมศาสตร์ มีความหมายเฉพาะตัว เช่นคำว่า "ศักดินา" "พวกก้าวหน้า" ฯลฯ ซึ่งเป็นนิยามศัพท์การเมืองของสำนักมาร์กซิสต์ หรือเศรษฐศาสตร์การเมือง ในสำนักคิดอื่นไม่นิยมใช้ การใช้คำเหล่านี้เลย ผู้อ่านอาจไม่เข้าใจหรือชักนำให้มีความหมายบิดเบือนไปได้ อยากให้ระวัง อย่างน้อยคือหลีกเลี่ยงคำหรือนิยามศัพท์ที่มีปัญหาเหล่านี้ หรือหากนำมาจากแหล่งข้อมูล ที่มี "อคติทางการเมือง" อย่างชัดเจน ควรสรุปความเอา มากกว่าลอกมาทั้งดุ้น ยกมาทั้งดุ้น ในงานภาคภาษาอังกฤษจะโดนหนักกว่านี้ด้วยซ้ำ --ข้อความนี้ไม่ได้ลงชื่อ ซึ่งออกความเห็นโดยผู้ใช้ Promethee (พูดคุยหน้าที่เขียน) 16:02, 18 กรกฎาคม 2551 (ICT)