ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดเขาทำเทียม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dharmadana (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{กล่องข้อมูล พุทธศาสนสถาน | full_name = วัดเขาทำเทียม | common_name = วัดเขาทำเทียม, วัดเขาธรรมเธียร, วัดเขาถ้ำเทียมสวรรค์ | image_temple = | short_describtion = | type_of_place = วัดราษฎร์ | branch = มหานิกาย | special_things = | principal_buddha = | impo...
 
Dharmadana (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 38: บรรทัด 38:
'''วัดเขาทำเทียม''' เป็น[[วัดราษฎร์]]สังกัดคณะสงฆ์ฝ่าย[[มหานิกาย]] ตั้งอยู่ใน[[ตำบลอู่ทอง]] [[อำเภออู่ทอง]] [[จังหวัดสุพรรณบุรี]] ที่ดินวัดมีพื้นที่ 39 ไร่ โดยด้านบนภูเขาทำเทียมเป็นพื้นที่ของกรมป่าไม้ประมาณ 140 ไร่
'''วัดเขาทำเทียม''' เป็น[[วัดราษฎร์]]สังกัดคณะสงฆ์ฝ่าย[[มหานิกาย]] ตั้งอยู่ใน[[ตำบลอู่ทอง]] [[อำเภออู่ทอง]] [[จังหวัดสุพรรณบุรี]] ที่ดินวัดมีพื้นที่ 39 ไร่ โดยด้านบนภูเขาทำเทียมเป็นพื้นที่ของกรมป่าไม้ประมาณ 140 ไร่


วัดเขาทำเทียมได้รับอนุญาตตั้งวัดเมื่อ พ.ศ. 2460 ได้รับพระราชทาน[[วิสุงคามสีมา]]เมื่อ พ.ศ. 2471 วัดตั้งอยู่ที่เขาทำเทียมซึ่งเป็นแนวเขาทางทิศตะวันตกของ[[เมืองอู่ทอง]] การที่มีการค้นพบศิลาจารึกภาษาสันสกฤตโบราณไว้ว่า ปุษยคิริ หรือ ปุษยคีรี แปลว่า ภูเขา ดอกไม้ ทำให้สนับสนุนข้อสันนิษฐานว่า วัดเขาทำเทียมเป็นวัดแห่งแรกของประเทศไทย<ref>{{cite web |title=พระพุทธปุษยคีรีศรีสุวรรณภูมิ วัดเขาทำเทียม |url=https://thailandtourismdirectory.go.th/th/attraction/670 |publisher=กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา}}</ref>
วัดเขาทำเทียมได้รับอนุญาตตั้งวัดเมื่อ พ.ศ. 2460 ได้รับพระราชทาน[[วิสุงคามสีมา]]เมื่อ พ.ศ. 2471 วัดตั้งอยู่ที่เขาทำเทียมซึ่งเป็นแนวเขาทางทิศตะวันตกของ[[เมืองอู่ทอง]] การที่มีการค้นพบศิลาจารึกภาษาสันสกฤตโบราณไว้ว่า ปุษยคิริ หรือ ปุษยคีรี แปลว่า ภูเขา ดอกไม้ นักวิชาการส่วนใหญ่ตีความว่าชื่อ "ปุษยคีรี" หมายถึงเขาทำเทียม ซึ่งพบโบราณสถานสำคัญในสมัยทวารวดีจนถึงสมัยอยุธยา การพบจารึกปุษยคีรีในดินแดนไทยเป็นสิ่งที่ชี้ให้เห็นถึงการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัย[[พระเจ้าอโศกมหาราช]]ของ[[อินเดีย]]มายังประเทศไทย เนื่องจากมีความพ้องกับชื่อภูเขาศักดิ์สิทธ์ ได้แก่ ปุษฺปคีรี ใน[[รัฐโอริสสา]]<ref>{{cite web |title=จารึกปุษยคีรี ชื่อภูเขาศักดิ์สิทธ์แห่งเมืองอู่ทอง |url=https://www.finearts.go.th/authongmuseum/view/25419-%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%9B%E0%B8%B8%E0%B8%A9%E0%B8%A2%E0%B8%84%E0%B8%B5%E0%B8%A3%E0%B8%B5--%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%87 |publisher=พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง สุพรรณบุรี}}</ref> ทำให้สนับสนุนข้อสันนิษฐานว่า วัดเขาทำเทียมเป็นวัดแห่งแรกของประเทศไทย<ref>{{cite web |title=พระพุทธปุษยคีรีศรีสุวรรณภูมิ วัดเขาทำเทียม |url=https://thailandtourismdirectory.go.th/th/attraction/670 |publisher=กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา}}</ref>


วัดเขาทำเทียมเป็นที่ตั้งของโบราณสถานหมายเลข 11 และหมายเลข 12 โดยหมายเลข 11 มีการขุดพบโบราณวัตถุที่สำคัญ ได้แก่ เสมา[[ธรรมจักร]]และเสาฐาน พระพุทธรูปปางแสดงธรรม 4 องค์ ปัจจุบันเก็บที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติอู่ทอง<ref>{{cite web |author1=พัชรนันท์ จันทร์ไทย |title=โครงการวางผังและการออกแบบอาคารเขตพุทธาวาส วัดเขาทำเทียม จังหวัดสุพรรณบุรี |url=http://cuir.car.chula.ac.th/bitstream/123456789/50724/1/5573340225.pdf |pages=16}}</ref>
วัดเขาทำเทียมเป็นที่ตั้งของโบราณสถานหมายเลข 11 และหมายเลข 12 โดยหมายเลข 11 มีการขุดพบโบราณวัตถุที่สำคัญ ได้แก่ เสมา[[ธรรมจักร]]และเสาฐาน พระพุทธรูปปางแสดงธรรม 4 องค์ ปัจจุบันเก็บที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติอู่ทอง<ref>{{cite web |author1=พัชรนันท์ จันทร์ไทย |title=โครงการวางผังและการออกแบบอาคารเขตพุทธาวาส วัดเขาทำเทียม จังหวัดสุพรรณบุรี |url=http://cuir.car.chula.ac.th/bitstream/123456789/50724/1/5573340225.pdf |pages=16}}</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:11, 10 กันยายน 2564

วัดเขาทำเทียม
แผนที่
ชื่อสามัญวัดเขาทำเทียม, วัดเขาธรรมเธียร, วัดเขาถ้ำเทียมสวรรค์
ที่ตั้งตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
ประเภทวัดราษฎร์
นิกายมหานิกาย
พระพุทธรูปสำคัญพระพุทธปุษยคีรีศรีสุวรรณภูมิ
พระพุทธศาสนา ส่วนหนึ่งของสารานุกรมพระพุทธศาสนา

วัดเขาทำเทียม เป็นวัดราษฎร์สังกัดคณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย ตั้งอยู่ในตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ที่ดินวัดมีพื้นที่ 39 ไร่ โดยด้านบนภูเขาทำเทียมเป็นพื้นที่ของกรมป่าไม้ประมาณ 140 ไร่

วัดเขาทำเทียมได้รับอนุญาตตั้งวัดเมื่อ พ.ศ. 2460 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ. 2471 วัดตั้งอยู่ที่เขาทำเทียมซึ่งเป็นแนวเขาทางทิศตะวันตกของเมืองอู่ทอง การที่มีการค้นพบศิลาจารึกภาษาสันสกฤตโบราณไว้ว่า ปุษยคิริ หรือ ปุษยคีรี แปลว่า ภูเขา ดอกไม้ นักวิชาการส่วนใหญ่ตีความว่าชื่อ "ปุษยคีรี" หมายถึงเขาทำเทียม ซึ่งพบโบราณสถานสำคัญในสมัยทวารวดีจนถึงสมัยอยุธยา การพบจารึกปุษยคีรีในดินแดนไทยเป็นสิ่งที่ชี้ให้เห็นถึงการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราชของอินเดียมายังประเทศไทย เนื่องจากมีความพ้องกับชื่อภูเขาศักดิ์สิทธ์ ได้แก่ ปุษฺปคีรี ในรัฐโอริสสา[1] ทำให้สนับสนุนข้อสันนิษฐานว่า วัดเขาทำเทียมเป็นวัดแห่งแรกของประเทศไทย[2]

วัดเขาทำเทียมเป็นที่ตั้งของโบราณสถานหมายเลข 11 และหมายเลข 12 โดยหมายเลข 11 มีการขุดพบโบราณวัตถุที่สำคัญ ได้แก่ เสมาธรรมจักรและเสาฐาน พระพุทธรูปปางแสดงธรรม 4 องค์ ปัจจุบันเก็บที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติอู่ทอง[3]

วัดมี พระพุทธปุษยคีรีศรีสุวรรณภูมิ เป็นพระพุทธรูปแกะสลักกับหน้าผาของภูเขาขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เริ่มสร้างเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2557 เป็นปางโปรดพระพุทธมารดา หรือ ปางกตัญญูกตเวที ที่มีขนาดหน้าตักกว้าง 25 เมตร สูง 35 เมตร[4]

อ้างอิง

  1. "จารึกปุษยคีรี ชื่อภูเขาศักดิ์สิทธ์แห่งเมืองอู่ทอง". พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง สุพรรณบุรี.
  2. "พระพุทธปุษยคีรีศรีสุวรรณภูมิ วัดเขาทำเทียม". กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.
  3. พัชรนันท์ จันทร์ไทย. "โครงการวางผังและการออกแบบอาคารเขตพุทธาวาส วัดเขาทำเทียม จังหวัดสุพรรณบุรี" (PDF). p. 16.
  4. "งดงามหนึ่งเดียวในไทย พระแกะสลักหน้าผาใหญ่". ไทยรัฐ.