ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทายาทโดยสันนิษฐาน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
A1Cafel (คุย | ส่วนร่วม)
Portalian (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่ใช่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ|width=280px}}
{{ใช้ปีคศ|width=280px}}

[[ไฟล์:Príncipe André do Reino Unido.jpg|thumb|280px |[[เจ้าฟ้าชายแอนดรูว์ ดยุคแห่งยอร์ค]] “รัชทายาทโดยสันนิษฐาน” แห่งราชบัลลังก์[[สหราชอาณาจักร]]]]
'''ทายาทโดยสันนิษฐาน<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน]</ref>''' ({{lang-en|'''Heir presumptive'''}}) คือ[[ทายาท]]ผู้อยู่ในสายของผู้มีสิทธิในการรับราชบัลลังก์ หรือตำแหน่ง[[ขุนนางสืบตระกูล]]แต่เป็นตำแหน่งที่สามารถมีผู้มาแทนได้โดยการกำเนิดของ “[[ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง]]” (heir apparent) หรือ “ทายาทโดยสันนิษฐาน” คนใหม่ที่มีสิทธิมากกว่า ถ้าใช้สะกดด้วยตัวพิมพ์เล็กในภาษาอังกฤษก็จะหมายถึงผู้มีสิทธิที่จะได้รับบรรดาศักดิ์, ตำแหน่ง หรือทรัพย์สินนอกจากจะมีทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงหรือทายาทโดยสันนิษฐานมาแทนที่ ในทั้งสองกรณีตำแหน่งนี้ขึ้นอยู่กับกฎหมายและ/หรือประเพณีที่จะเปลี่ยนผู้ที่มีสิทธิเป็นทายาทโดยสันนิษฐาน
'''ทายาทโดยสันนิษฐาน<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน]</ref>''' ({{lang-en|'''Heir presumptive'''}}) คือ[[ทายาท]]ผู้อยู่ในสายของผู้มีสิทธิในการรับราชบัลลังก์ หรือตำแหน่ง[[ขุนนางสืบตระกูล]]แต่เป็นตำแหน่งที่สามารถมีผู้มาแทนได้โดยการกำเนิดของ “[[ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง]]” (heir apparent) หรือ “ทายาทโดยสันนิษฐาน” คนใหม่ที่มีสิทธิมากกว่า ถ้าใช้สะกดด้วยตัวพิมพ์เล็กในภาษาอังกฤษก็จะหมายถึงผู้มีสิทธิที่จะได้รับบรรดาศักดิ์, ตำแหน่ง หรือทรัพย์สินนอกจากจะมีทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงหรือทายาทโดยสันนิษฐานมาแทนที่ ในทั้งสองกรณีตำแหน่งนี้ขึ้นอยู่กับกฎหมายและ/หรือประเพณีที่จะเปลี่ยนผู้ที่มีสิทธิเป็นทายาทโดยสันนิษฐาน



รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:52, 11 พฤษภาคม 2564

ทายาทโดยสันนิษฐาน[1] (อังกฤษ: Heir presumptive) คือทายาทผู้อยู่ในสายของผู้มีสิทธิในการรับราชบัลลังก์ หรือตำแหน่งขุนนางสืบตระกูลแต่เป็นตำแหน่งที่สามารถมีผู้มาแทนได้โดยการกำเนิดของ “ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง” (heir apparent) หรือ “ทายาทโดยสันนิษฐาน” คนใหม่ที่มีสิทธิมากกว่า ถ้าใช้สะกดด้วยตัวพิมพ์เล็กในภาษาอังกฤษก็จะหมายถึงผู้มีสิทธิที่จะได้รับบรรดาศักดิ์, ตำแหน่ง หรือทรัพย์สินนอกจากจะมีทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงหรือทายาทโดยสันนิษฐานมาแทนที่ ในทั้งสองกรณีตำแหน่งนี้ขึ้นอยู่กับกฎหมายและ/หรือประเพณีที่จะเปลี่ยนผู้ที่มีสิทธิเป็นทายาทโดยสันนิษฐาน

ในกรณีที่เกี่ยวกับรัชทายาทของราชบัลลังก์ “ทายาทโดยสันนิษฐาน” อาจจะเป็นพระราชธิดาในพระมหากษัตริย์ (ถ้าพระราชโอรสมีสิทธิเหนือกว่าพระราชธิดาและพระมหากษัตริย์ไม่มีพระราชโอรส) หรือสมาชิกผู้มีอาวุโสของสายที่มีสิทธิในกรณีที่พระมหากษัตริย์ไม่มีพระราชโอรสหรือธิดาตาม

เมื่อทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงถือกำเนิด ผู้นั้นก็ถือว่าเป็นผู้มีสิทธิคนแรกในราชบัลลังก์และผู้สืบเชื้อสายจากทายาทของ “ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง” ก็จะมีสิทธิเหนือกว่า “ทายาทโดยสันนิษฐาน” ตามลำดับการสืบสันตติวงศ์ (Order of succession) ที่กำหนดไว้

รายพระนามรัชทายาทโดยสันนิษฐานในปัจจุบัน

ประเทศ พระฉายาลักษณ์ พระนาม ความสัมพันธ์กับพระมหากษัตริย์พระองค์ปัจจุบัน
ญี่ปุ่น ญี่ปุ่น เจ้าชายฟูมิฮิโตะ เจ้าอากิชิโนะ
84-06-30ประสูติ 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1965(1965-11-30)
พระอนุชา
โอมาน โอมาน ษิยะซิน บิน ฮัยษัม อัสซะอีด พระราชโอรสพระองค์ใหญ่
สเปน สเปน เลโอนอร์ เจ้าหญิงแห่งอัสตูเรียส
74-01-20ประสูติ 31 ตุลาคม ค.ศ. 2005(2005-10-31)
พระราชธิดาพระองค์ใหญ่
ประเทศกาตาร์ กาตาร์ อับดุลเลาะห์ บิน ฮามัด บิน เคาะลีฟะฮ์ อัษษานี
74-01-20ประสูติ 09 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1988(1988-02-09)
พระอนุชาต่างพระมารดา
ไทย ไทย สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าทีปังกรรัศมีโชติ
95-09-17ประสูติ 29 เมษายน ค.ศ. 2005(2005-04-29)
พระราชโอรส

อ้างอิง

ดูเพิ่ม