ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การละลาย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chuansin (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Kasama (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ละลาย''' ([[อังกฤษ]]:soluble) สสารละลายใน [[ของเหลว]] ถ้ามันละลายในของเหลวได้ สสารที่ละลายแล้วเรียกว่า '''ตัวถูกละลาย'''(solute) และของเหลวที่มีอยู่มากเกินพอนี้เราเรียกว่า '''[[ตัวทำละลาย]]'''(solvent)สิ่งที่ได้ทั้งหมอเรียกว่า '''[[สารละลาย]]'''(solution) กระบวนการละลายนี้เราเรียกว่า[[โซลเวชัน]],(solvation)
เมื่อเกิดการละลายของสารชนิดหนึ่งในของเหลว เราจะเรียกสารผสมนั้นว่า '''[[สารละลาย]]''' โดยเรียกสารที่ละลายอยู่ในของเหลวนั้นว่า'''ตัวถูกละลาย''' และเรียกของเหลวนั้นว่า'''ตัวทำละลาย''' สารละลายที่ไม่สามารถใส่ตัวถูกละลายลงไปเพิ่มได้อีกแล้ว จะเรียกว่า สารละลายอิ่มตัว แต่ในบางสภาพ ตัวถูกละลายนั้นก็อาจละลายในตัวทำละลายชนิดเดียวกันได้มากกว่าปกติจนอิ่มตัว จะเรียกสารละลายที่อิ่มตัวนั้นว่า สารละลายอิ่มตัวยวดยิ่ง
ถ้าตัวทำละลายเป็น [[น้ำ]] เราเรียกว่า [[ไฮเดรชัน]] (hydration)


ความสามารถในการละลายของสารชนิดหนึ่งในสารอีกชนิดหนึ่งนั้นสามารถหาได้จากอัตราส่วนระหว่างตัวถูกละลาย กับตัวทำละลาย หรือ อัตราส่วนระหว่างตัวถูกละลาย กับสารละลาย ในสภาวะที่สารละลายนั้นเป็นสารละลายอิ่มตัว ซึ่งสามาถรบอกเป็นความหนาแน่นสูงสุดของสารละลายนั้นได้อีกด้วยซึ่งขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น [[แรงระหว่างโมเลกุล]]ของตัวทำละลายกับตัวถูกละลาย อุณหภูมิ ความดัน และปัจจัยอื่นๆ
สารละลายที่ [[สมดุลย์ทางเคมี|สมดุลย์]] ไม่สามารถละลายตัวถูกละลายได้อีกแล้วเราเรียกภาวะนี้ว่า [[อิ่มตัว]] (saturated) สารละลายที่สามารถละลายตัวถูกละลายได้มากกว่าการละลายตามปกติเราเรียกว่า [[ซูเปอร์แซตเทอเรชัน]] (supersaturation) ที่ความสมดุลย์สูงสุดจำนวนตัวถูกละลายต่อ (หารด้วย) จำนวนตัวทำละลาย ค่าที่ได้เราเรียกว่า '''การละลาย''' (solubility)
ของตัวถูกละลายในตัวทำละลายนั้น บ่อยครั้งถูกแสดงเป็นค่า [[ความเข้มข้น]] สูงสุดของสารละลายอิ่มตัว การละลายของสารตัวหนึ่งที่ละลายในตัวทำละลายอื่น จะถูกกำหนดโดย
#[[แรงระหว่างโมเลกุล]] (intermolecular force) ระหว่างตัวทำละลายและตัวถูกละลาย,
#[[อุณหภูมิ]],
#[[เอนโทรปี]] (entropy) ที่เปลี่ยนร่วมกับกระบวนการละลาย,
#การมีอยู่และจำนวนของสสารอื่น,
#ความดัน หรือ ความดันย่อยของตัวถูกละลายที่เป็นก๊าซ


== การละลายของสารพันธะต่างๆ ในน้ำ (Solubility of bonding type in water) ==


ในตัวทำละลายแต่ละชนิดจะมีสภาพขั้วของสารชนิดนั้นๆ โดยโมเลกุลที่มีขั้วจะสามารถละลายสารประกอบไอออนิกและสารประกอบโควาเลนต์ที่มีขั้วได้ ส่วนโมเลกุลที่ไม่มีขั้วจะสามารถละลายสารประกอบโควาเลนต์ที่ไม่มีขั้วได้ ตัวอย่างเช่น เกลือแกง เป็นสารประกอบไอออนิก สารมารถละลายในน้ำซึ่งเป็นโมเลกุลมีขั้ว แต่ไม่สามารถละลายในเอทานอลได้ แต่น้ำกับสารที่ไม่มีขั้วจะไม่สามารถรวมกันเป็นเนื้อเดียวกันได้ แต่จะแยกออกเป็นชั้นๆ หรือรวมกันเป็น[[คอลลอยด์]]แบบ[[อิมัลชั่น]]ดังเช่นในน้ำนม
<table class="wikitable">
<tr><th>ประเภทพันธะ <br> (Bonding type)</th><th>Solubility in water</th><th>ตัวอย่าง</th></tr>
<tr><th rowspan="1">ไอออนิก (ionic)</th><td>ส่วนใหญ่ละลาย</td><td>See below</tr>
<tr><th rowspan="2">เมทัลลิก <br>(metallic)</th><td rowspan="1">ไม่ละลาย</td><td rowspan="1">[[เหล็ก|Fe]]</td></tr>
<tr><td rowspan="1">นอกจากทำปฏิกิริยากับน้ำ</td><td>[[Potassium|K]]</td></tr>
<tr><th rowspan="3">โพลาร์โควาเลนต์ <br>(polar covalent)</th><td rowspan="1">ละลายถ้ามันมีพันธะไฮโดรเจน</td><td rowspan="1">[[glucose]]</td></tr>
<tr><td rowspan="1">ละลายโดยปฏิกิริยา</td><td rowspan="1">[[HCl]]</td></tr>
<tr><td rowspan="1">ไม่ละลาย</td><td rowspan="1">[[diethyl ether|ether]]</td></tr>
<tr><th rowspan="2">นอน-โพลาร์โควาเลนต์ <br>(non-polar covalent)</th><td rowspan="1">ส่วนใหญ่ไม่ละลาย</td><td rowspan="1">[[benzene]]</td></tr>
<tr><td rowspan="1">ละลายบ้างเล็กน้อย</td><td rowspan="1">[[Oxygen|O<sub>2</sub>]]</td></tr>
<tr><th rowspan="1">โควาเลนต์แลตทิช (covalent lattice)</th><td>ไม่ละลาย</td><td>[[diamond]]</td></tr>
</table>


ตัวทำละลายที่นิยมใช้กับสารอินทรีย์ ได้แก่ [[อะซีโตน]] [[เอทานอล]] [[น้ำ_(โมเลกุล)|น้ำ]] [[และเบนซีน]]
== การละลายของสารประกอบไอออนิก (Solubility of ionic compounds) ==
<table class="wikitable">
<tr><th>ละลาย</th><th>ไม่ละลาย</th></tr>
<tr><td>[[Alkali metal|Group 1]] and [[Ammonium|NH<sub>4</sub><sup>+</sup>]] compounds</td><td>[[Carbonate|carbonates]] (except [[Alkali metal|Group 1]] and [[Ammonium|NH<sub>4</sub><sup>+</sup>]] compounds)</td></tr>
<tr><td>[[Nitrate|nitrates]]</td><td>[[Sulfite|sulfites]] (except [[Alkali metal|Group 1]] and [[Ammonium|NH<sub>4</sub><sup>+</sup> compounds]])</td></tr>
<tr><td>[[Acetate|acetates]] (ethanoates)</td><td>[[Phosphate|phosphates]] (except [[Alkali metal|Group 1]] and [[Ammonium|NH<sub>4</sub><sup>+</sup>]] compounds)</td></tr>
<tr><td>[[Chloride|chlorides]], [[Bromide (chemistry)|bromides]] and [[Iodide|iodides]] (except [[Silver|Ag<sup>+</sup>]], [[Lead|Pb<sup>2+</sup>]], [[Copper|Cu<sup>+</sup>]] and [[Mercury (element)|Hg<sub>2</sub><sup>2+</sup>]])</td><td>[[Hydroxide|hydroxides]] and [[Oxide|oxides]] (except [[Alkali metal|Group 1]], [[Ammonium|NH<sub>4</sub><sup>+</sup>]], [[Barium|Ba<sup>2+</sup>]], [[Strontium|Sr<sup>2+</sup>]] and [[Calcium|Ca<sup>2+</sup>]])</td></tr>
<tr><td>[[Sulfate|sulfates]] (except [[Silver|Ag<sup>+</sup>]], [[Lead|Pb<sup>2+</sup>]], [[Barium|Ba<sup>2+</sup>]], [[Strontium|Sr<sup>2+</sup>]] and [[Calcium|Ca<sup>2+</sup>]])</td><td>[[Sulfide|sulfides]] (except [[Alkali metal|Group 1]], [[Alkaline earth metal|Group 2]] and [[Ammonium|NH<sub>4</sub><sup>+</sup>]] compounds)</td></tr>
</table>




คนส่วนใหญ่มักคิดว่า สารละลายต้องเกิดจากของแข็งละลายในของเหลวเท่านั้น แต่แท้จริงแล้ว สารละลายสามารถเกิดจากสารได้ทุกสถานะ เช่น น้ำอัดลม เกิดจากแก๊สละลายในของเหลว แก๊ส[[ไฮโดรเจน]] สารมารถละลายในแพลลาเดียมที่เป็นของแข็งได้ หรือเหล็กกล้าปลอดสนิมที่เรียกกันว่า สเตนเลส ก็เกิดจากการผสมกันระหว่างของแข็งหลายชนิดที่เรียกว่า [[อัลลอยด์]]
== ดูด้วย ==


==การละลายของสารพันธะต่างๆ ในน้ำ==

<div style="text-align: center;"><table class="wikitable">
<tr><th>ชนิดของพันธะ <br></th><th>ความสามารถในการละลายน้ำ</th><th>ตัวอย่าง</th></tr>
<tr><th rowspan="1">ไอออนิก </th><td>ส่วนใหญ่ละลายได้</td><td>ดูรายละเอียด<br />ด้านล่าง</tr>
<tr><th rowspan="2">โลหะ </th><td rowspan="1">ไม่ละลาย</td><td rowspan="1">[[เหล็ก]]</td></tr>
<tr><td rowspan="1">ทำปฏิกิริยากับน้ำ</td><td>[[โพแทสเซียม]]</td></tr>
<tr><th rowspan="3">โมเลกุลโควาเลนต์มีขั้ว</th><td rowspan="1">ละลายถ้ามี[[พันธะไฮโดรเจน]]</td><td rowspan="1">[[กลูโคส]]</td></tr>
<tr><td rowspan="1">ละลายโดยปฏิกิริยา</td><td rowspan="1">[[กรดเกลือ]]</td></tr>
<tr><td rowspan="1">ไม่ละลาย</td><td rowspan="1">[[อีเทอร์]]</td></tr>
<tr><th rowspan="2">โมเลกุลโควาเลนต์ไม่มีขั้ว </th><td rowspan="1">ส่วนใหญ่ไม่ละลาย</td><td rowspan="1">[[เบนซีน]]</td></tr>
<tr><td rowspan="1">ละลายได้เล็กน้อย</td><td rowspan="1">[[ออกซิเจน]]</td></tr>
<tr><th rowspan="1">โควาเลนต์โครงผลึกร่างตาข่าย</th><td>ไม่ละลาย</td><td>[[เพชร]]</td></tr>
</table></div>

==การละลายน้ำของสารประกอบไอออนิก==
<div style="text-align: center;"><table class="wikitable">
<tr><th>ละลาย</th><th>ไม่ละลาย</th></tr>
<tr><td>[[โลหะแอลคาไลน์]] และ [[แอมโมเนียม|สารประกอบ NH<sub>4</sub><sup>+</sup>]]</td><td>[[คาร์บอเนต]] <br />ยกเว้นสารประกอบของ[[โลหะแอลคาไลน์]] และ [[แอมโมเนียม|สารประกอบ NH<sub>4</sub><sup>+</sup>]]</td></tr>
<tr><td>สารประกอบ[[ไนเตรต]]</td><td>สารประกอบ[[ซัลไฟต์]]<br />(ยกเว้นสารประกอบของ[[โลหะแอลคาไลน์]] และ [[แอมโมเนียม|สารประกอบ NH<sub>4</sub><sup>+</sup>]])</td></tr>
<tr><td>[[อะซีเตต]] (CH<sub>3</sub>COO<sup>-</sup>)</td><td>สารประกอบ[[ฟอสเฟต]]<br /> (ยกเว้นสารประกอบของ[[โลหะแอลคาไลน์]] และ [[แอมโมเนียม|สารประกอบ NH<sub>4</sub><sup>+</sup>]])</td></tr>
<tr><td>[[คลอไรด์]] [[โบรไมด์]] และ [[ไอโอไดด์]] <br />(ยกเว้น [[เงิน|Ag<sup>+</sup>]], [[ตะกั่ว|Pb<sup>2+</sup>]], [[ทองแดง|Cu<sup>+</sup>]] และ [[ปรอท|Hg<sub>2</sub><sup>2+</sup>]])</td><td>[[ไฮดรอกไซด์]] และ [[ออกไซด์]] <br />(ยกเว้นสารประกอบของ[[โลหะแอลคาไลน์]] [[แอมโมเนียม|สารประกอบ NH<sub>4</sub><sup>+</sup>]] <br />[[แบเรียม|Ba<sup>2+</sup>]] [[สทรอนเตียม|Sr<sup>2+</sup>]] และ [[แคลเซียม|Ca<sup>2+</sup>]])</td></tr>
<tr><td>[[ซัลเฟต]] <br />(ยกเว้น [[เงิน|Ag<sup>+</sup>]], [[ตะกั่ว|Pb<sup>2+</sup>]], [[แบเรียม|Ba<sup>2+</sup>]], [[สทรอนเตียม|Sr<sup>2+</sup>]] และ [[แคลเซียม|Ca<sup>2+</sup>]])</td><td>[[ซัลไฟด์]] <br />(ยกเว้นสารประกอบของ[[โลหะแอลคาไลน์]] [[โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท]]<br /> [[แอมโมเนียม|สารประกอบ NH<sub>4</sub><sup>+</sup>]])</td></tr>
</table></div>


* [[Concentration]]
* [[LogP|Differential solubility]] (LogP)
* [[Miscible]]
* [[Solvent]]


[[Category:คุรสมบัติเคมี]]
[[Category:คุณสมบัติเคมี]]
[[Category:สารละลาย]]
[[Category:สารละลาย]]



รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:38, 26 ธันวาคม 2548

เมื่อเกิดการละลายของสารชนิดหนึ่งในของเหลว เราจะเรียกสารผสมนั้นว่า สารละลาย โดยเรียกสารที่ละลายอยู่ในของเหลวนั้นว่าตัวถูกละลาย และเรียกของเหลวนั้นว่าตัวทำละลาย สารละลายที่ไม่สามารถใส่ตัวถูกละลายลงไปเพิ่มได้อีกแล้ว จะเรียกว่า สารละลายอิ่มตัว แต่ในบางสภาพ ตัวถูกละลายนั้นก็อาจละลายในตัวทำละลายชนิดเดียวกันได้มากกว่าปกติจนอิ่มตัว จะเรียกสารละลายที่อิ่มตัวนั้นว่า สารละลายอิ่มตัวยวดยิ่ง

ความสามารถในการละลายของสารชนิดหนึ่งในสารอีกชนิดหนึ่งนั้นสามารถหาได้จากอัตราส่วนระหว่างตัวถูกละลาย กับตัวทำละลาย หรือ อัตราส่วนระหว่างตัวถูกละลาย กับสารละลาย ในสภาวะที่สารละลายนั้นเป็นสารละลายอิ่มตัว ซึ่งสามาถรบอกเป็นความหนาแน่นสูงสุดของสารละลายนั้นได้อีกด้วยซึ่งขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น แรงระหว่างโมเลกุลของตัวทำละลายกับตัวถูกละลาย อุณหภูมิ ความดัน และปัจจัยอื่นๆ


ในตัวทำละลายแต่ละชนิดจะมีสภาพขั้วของสารชนิดนั้นๆ โดยโมเลกุลที่มีขั้วจะสามารถละลายสารประกอบไอออนิกและสารประกอบโควาเลนต์ที่มีขั้วได้ ส่วนโมเลกุลที่ไม่มีขั้วจะสามารถละลายสารประกอบโควาเลนต์ที่ไม่มีขั้วได้ ตัวอย่างเช่น เกลือแกง เป็นสารประกอบไอออนิก สารมารถละลายในน้ำซึ่งเป็นโมเลกุลมีขั้ว แต่ไม่สามารถละลายในเอทานอลได้ แต่น้ำกับสารที่ไม่มีขั้วจะไม่สามารถรวมกันเป็นเนื้อเดียวกันได้ แต่จะแยกออกเป็นชั้นๆ หรือรวมกันเป็นคอลลอยด์แบบอิมัลชั่นดังเช่นในน้ำนม

ตัวทำละลายที่นิยมใช้กับสารอินทรีย์ ได้แก่ อะซีโตน เอทานอล น้ำ และเบนซีน


คนส่วนใหญ่มักคิดว่า สารละลายต้องเกิดจากของแข็งละลายในของเหลวเท่านั้น แต่แท้จริงแล้ว สารละลายสามารถเกิดจากสารได้ทุกสถานะ เช่น น้ำอัดลม เกิดจากแก๊สละลายในของเหลว แก๊สไฮโดรเจน สารมารถละลายในแพลลาเดียมที่เป็นของแข็งได้ หรือเหล็กกล้าปลอดสนิมที่เรียกกันว่า สเตนเลส ก็เกิดจากการผสมกันระหว่างของแข็งหลายชนิดที่เรียกว่า อัลลอยด์


การละลายของสารพันธะต่างๆ ในน้ำ

ชนิดของพันธะ
ความสามารถในการละลายน้ำตัวอย่าง
ไอออนิก ส่วนใหญ่ละลายได้ดูรายละเอียด
ด้านล่าง
โลหะ ไม่ละลายเหล็ก
ทำปฏิกิริยากับน้ำโพแทสเซียม
โมเลกุลโควาเลนต์มีขั้วละลายถ้ามีพันธะไฮโดรเจนกลูโคส
ละลายโดยปฏิกิริยากรดเกลือ
ไม่ละลายอีเทอร์
โมเลกุลโควาเลนต์ไม่มีขั้ว ส่วนใหญ่ไม่ละลายเบนซีน
ละลายได้เล็กน้อยออกซิเจน
โควาเลนต์โครงผลึกร่างตาข่ายไม่ละลายเพชร

การละลายน้ำของสารประกอบไอออนิก

ละลายไม่ละลาย
โลหะแอลคาไลน์ และ สารประกอบ NH4+คาร์บอเนต
ยกเว้นสารประกอบของโลหะแอลคาไลน์ และ สารประกอบ NH4+
สารประกอบไนเตรตสารประกอบซัลไฟต์
(ยกเว้นสารประกอบของโลหะแอลคาไลน์ และ สารประกอบ NH4+)
อะซีเตต (CH3COO-)สารประกอบฟอสเฟต
(ยกเว้นสารประกอบของโลหะแอลคาไลน์ และ สารประกอบ NH4+)
คลอไรด์ โบรไมด์ และ ไอโอไดด์
(ยกเว้น Ag+, Pb2+, Cu+ และ Hg22+)
ไฮดรอกไซด์ และ ออกไซด์
(ยกเว้นสารประกอบของโลหะแอลคาไลน์ สารประกอบ NH4+
Ba2+ Sr2+ และ Ca2+)
ซัลเฟต
(ยกเว้น Ag+, Pb2+, Ba2+, Sr2+ และ Ca2+)
ซัลไฟด์
(ยกเว้นสารประกอบของโลหะแอลคาไลน์ โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท
สารประกอบ NH4+)