ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดเศวตฉัตรวรวิหาร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล พุทธศาสนสถาน
| full_name = วัดเศวตฉัตรวรวิหาร
| common_name = วัดเศวตฉัตร
| image_temple =
| short_describtion =
| type_of_place = พระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิดวรวิหาร
| branch = [[เถรวาท]] [[มหานิกาย]]
| special_things =
| principal_buddha = พระพุทธอังคีรสมุนีนารถอุรคอาสน์อำไพ
| important_buddha =
| abbot = พระราชพิพัฒนโกศล (ประสิทธิ์ ปริยตฺติธารี ป.ธ.๗)
| venerate =
| pre_road =
| road_name = ถนนเจริญนคร
| sub_district = แขวงบางลำพูล่าง
| district = เขตคลองสาน
| province = กรุงเทพมหานคร
| zip_code =
| tel_no =
}}

'''วัดเศวตฉัตรวรวิหาร''' เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่บน[[ถนนเจริญนคร]] ติดกับ[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] ใน[[เขตคลองสาน]] [[กรุงเทพมหานคร]] เดิมชื่อ ''วัดบางลำพูล่าง'' สันนิษฐานว่าก่อสร้างขึ้นตั้งแต่[[สมัยอยุธยา]] ต่อมาอยู่ในสภาพทรุดโทรมและได้รับการบูรณะครั้งใหญ่โดย[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นสุรินทรรักษ์]] (ในขณะนั้นพระนามว่าพระเจ้าอัยกาเธอ กรมหมื่นสุรินทรรักษ์) พระราชโอรสใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]มหาราช ผู้ทรงเป็นต้นราชสกุล[[ฉัตรกุล]] ในช่วงปี พ.ศ. 2359 - 2373 ต่อมาได้รับการปฏิสังขรณ์โดย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] และ[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ซึ่งต่อมาได้พระราชทานชื่อวัดใหม่ว่า ''วัดเศวตฉัตร''
'''วัดเศวตฉัตรวรวิหาร''' เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่บน[[ถนนเจริญนคร]] ติดกับ[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] ใน[[เขตคลองสาน]] [[กรุงเทพมหานคร]] เดิมชื่อ ''วัดบางลำพูล่าง'' สันนิษฐานว่าก่อสร้างขึ้นตั้งแต่[[สมัยอยุธยา]] ต่อมาอยู่ในสภาพทรุดโทรมและได้รับการบูรณะครั้งใหญ่โดย[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นสุรินทรรักษ์]] (ในขณะนั้นพระนามว่าพระเจ้าอัยกาเธอ กรมหมื่นสุรินทรรักษ์) พระราชโอรสใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]มหาราช ผู้ทรงเป็นต้นราชสกุล[[ฉัตรกุล]] ในช่วงปี พ.ศ. 2359 - 2373 ต่อมาได้รับการปฏิสังขรณ์โดย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] และ[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ซึ่งต่อมาได้พระราชทานชื่อวัดใหม่ว่า ''วัดเศวตฉัตร''



รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:12, 3 มกราคม 2562

วัดเศวตฉัตรวรวิหาร
แผนที่
ชื่อสามัญวัดเศวตฉัตร
ที่ตั้งถนนเจริญนคร แขวงบางลำพูล่าง เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร
ประเภทพระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิดวรวิหาร
นิกายเถรวาท มหานิกาย
พระประธานพระพุทธอังคีรสมุนีนารถอุรคอาสน์อำไพ
เจ้าอาวาสพระราชพิพัฒนโกศล (ประสิทธิ์ ปริยตฺติธารี ป.ธ.๗)
พระพุทธศาสนา ส่วนหนึ่งของสารานุกรมพระพุทธศาสนา

วัดเศวตฉัตรวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่บนถนนเจริญนคร ติดกับแม่น้ำเจ้าพระยา ในเขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร เดิมชื่อ วัดบางลำพูล่าง สันนิษฐานว่าก่อสร้างขึ้นตั้งแต่สมัยอยุธยา ต่อมาอยู่ในสภาพทรุดโทรมและได้รับการบูรณะครั้งใหญ่โดยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นสุรินทรรักษ์ (ในขณะนั้นพระนามว่าพระเจ้าอัยกาเธอ กรมหมื่นสุรินทรรักษ์) พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ผู้ทรงเป็นต้นราชสกุลฉัตรกุล ในช่วงปี พ.ศ. 2359 - 2373 ต่อมาได้รับการปฏิสังขรณ์โดยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งต่อมาได้พระราชทานชื่อวัดใหม่ว่า วัดเศวตฉัตร

เดิมวัดบางลำภูล่าง มีเพียงพระอุโบสถเก่าซึ่งอยู่ริมตลิ่งแม่น้ำเจ้าพระยาซึ่งตื้นเขินเต็มที พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นสุรินทรรักษ์จึงได้ทรงยกวัดออกไปสร้างใหม่ ในตำแหน่งวัดปัจจุบัร โดยโปรดให้รื้อพระตำหนักส่วนพระองค์สร้างเป็นถาวรวัตถุของวัดแทน[1]

ฝั่งตรงข้ามถนนเจริญนครเป็นวัดอีกส่วนหนึ่ง ซึ่งเป็นพระอุโบสถหลังเดิมที่ประดิษฐาน พระพุทธสมาธิคุณสุนทรสมาทานบุราณสุคต หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า หลวงพ่อโบสถ์บน พระพุทธรูปปางสมาธิ ไม่ปรากฏหลักฐานการสร้าง แต่เชื่อกันว่าสร้างโดยสานไม้ไผ่หล่อปูนตามแบบโบราณ[2]

ภายในพระอุโบสถหลังปัจจุบันประดิษฐาน พระพุทธอังคีรสมุนีนารถอุรคอาสน์อำไพ พระพุทธรูปปางนาคปรก สร้างโดยรูปแบบพระหล่อ บริเวณฐานชุกชีเบื้องหลังพระประธานบรรจุอัฐิผู้สืบสกุลของพระองค์เจ้าฉัตร ได้แก่ ด้านซ้าย ปรากฏจารึกพระนาม จอมพล พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นสุรินทรรักษ์ (อรุณ ฉัตรกุล) อดีตผู้บัญชาการโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ส่วนด้านขวาปรากฏจารึกพระนาม “ฉัตรกุล สายหม่อมเจ้ากลาง” นอกจากนี้ในพระอุโบสถยังประดิษฐาน พระพุทธมารวิชัยอภัยปรปักษ์อัครวิบูล พระพุทธรูปปางมารวิชัย

อ้างอิง