ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลากระเบนค้างคาว"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 42: บรรทัด 42:
พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวาง ทั้ง[[มหาสมุทรแปซิฟิก]], [[มหาสมุทรแอตแลนติก]], [[มหาสมุทรอินเดีย]] ตั้งแต่[[ฮาวาย]], [[อ่าวเม็กซิโก]], ชายฝั่งทะเลของ[[แอฟริกาตะวันตก]], ชายฝั่งทะเลของสหรัฐอเมริกา และ[[โอเชียเนีย]]
พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวาง ทั้ง[[มหาสมุทรแปซิฟิก]], [[มหาสมุทรแอตแลนติก]], [[มหาสมุทรอินเดีย]] ตั้งแต่[[ฮาวาย]], [[อ่าวเม็กซิโก]], ชายฝั่งทะเลของ[[แอฟริกาตะวันตก]], ชายฝั่งทะเลของสหรัฐอเมริกา และ[[โอเชียเนีย]]


ปลากระเบนยี่สนออกลูกเป็นไข่ แต่ไข่ได้พัฒนาเป็นตัวในช่องท้องของปลาตัวเมีย เมื่อแรกเกิดลูกปลาจะมี[[ถุงไข่แดง]]ติดตัวมาด้วย
ปลากระเบนค้างคาวออกลูกเป็นไข่ แต่ไข่ได้พัฒนาเป็นตัวในช่องท้องของปลาตัวเมีย เมื่อแรกเกิดลูกปลาจะมี[[ถุงไข่แดง]]ติดตัวมาด้วย


ปลากระเบนยี่สนนั้น มักถูกล่าเป็นอาหารจาก[[ปลาฉลาม]] โดยเฉพาะ[[ปลาฉลามหัวค้อน]]<ref>Chapman, D.D. and Gruber, S.H. (May 2002). "A further observation of the prey-handling behavior of the great hammerhead shark, ''Sphyrna mokarran'': predation upon the spotted eagle ray, ''Aetobatus narinari''". Bulletin of Marine Science 70 (3): 947–952</ref> สำหรับความสัมพันธ์ต่อมนุษย์แล้ว นิยมเลี้ยงใน[[พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ]]ต่าง ๆ เพราะความสวยงามในสีสันและการว่ายน้ำ และยังนิยมใช้เนื้อเพื่อการบริโภคด้วยทั้งการบริโภคสดและเก็บรักษาเป็น[[ปลาแห้ง]] และทำเป็นปลาหย็อง<ref>[http://docs.google.com/viewer?a=v&q=cache:TN_LZdnHLhsJ:library.dip.go.th/multim/edoc/09988.doc+%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AA%E0%B8%99&hl=th&gl=th&pid=bl&srcid=ADGEESjPPDzGBAmP4fLsQ9Ag7tVb1AofoO2Z9oHy34RW8fkGnp4DEZqZ-WnVifNIzwB0JuZJruS_KMtKUjEoNlU21NPz1RWHzFjUGClZSN6Q_k7qFBdl-4cI5_uQetzQ81LrKaNC9b3j&sig=AHIEtbR06aJHFfLjCMHkhgou88UPSBgToA ปลายี่สนหยอง ของดีเมืองแม่กลอง]</ref>
ปลากระเบนค้างคาวสนนั้น มักถูกล่าเป็นอาหารจาก[[ปลาฉลาม]] โดยเฉพาะ[[ปลาฉลามหัวค้อน]]<ref>Chapman, D.D. and Gruber, S.H. (May 2002). "A further observation of the prey-handling behavior of the great hammerhead shark, ''Sphyrna mokarran'': predation upon the spotted eagle ray, ''Aetobatus narinari''". Bulletin of Marine Science 70 (3): 947–952</ref> สำหรับความสัมพันธ์ต่อมนุษย์แล้ว นิยมเลี้ยงใน[[พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ]]ต่าง ๆ เพราะความสวยงามในสีสันและการว่ายน้ำ และยังนิยมใช้เนื้อเพื่อการบริโภคด้วยทั้งการบริโภคสดและเก็บรักษาเป็น[[ปลาแห้ง]] และทำเป็นปลาหย็อง<ref>[http://docs.google.com/viewer?a=v&q=cache:TN_LZdnHLhsJ:library.dip.go.th/multim/edoc/09988.doc+%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AA%E0%B8%99&hl=th&gl=th&pid=bl&srcid=ADGEESjPPDzGBAmP4fLsQ9Ag7tVb1AofoO2Z9oHy34RW8fkGnp4DEZqZ-WnVifNIzwB0JuZJruS_KMtKUjEoNlU21NPz1RWHzFjUGClZSN6Q_k7qFBdl-4cI5_uQetzQ81LrKaNC9b3j&sig=AHIEtbR06aJHFfLjCMHkhgou88UPSBgToA ปลาค้างคาวสนหยอง ของดีเมืองแม่กลอง]</ref>


==รูปภาพ==
==รูปภาพ==
บรรทัด 59: บรรทัด 59:
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Aetobatus narinari|''Aetobatus narinari''}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Aetobatus narinari|''Aetobatus narinari''}}
==แหล่งข้อมูลอื่น==
==แหล่งข้อมูลอื่น==
*[http://www.fishbase.org/summary/Speciessummary.php?id=1250&lang=thai ปลากระเบนยี่สน จาก Fishbase.org]
*[http://www.fishbase.org/summary/Speciessummary.php?id=1250&lang=thai ปลากระเบนค้างคาว จาก Fishbase.org]


[[หมวดหมู่:ปลาที่พบในประเทศไทย]]
[[หมวดหมู่:ปลาที่พบในประเทศไทย]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:37, 29 เมษายน 2560

ปลากระเบนค้างคาว
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: ครีเตเชียสตอนต้น-ปัจจุบัน[1]
รูปวาดลำตัวด้านบน
ลำตัวด้านข้าง
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Chondrichthyes
ชั้นย่อย: Elasmobranchii
อันดับ: Myliobatiformes
วงศ์: Myliobatidae
สกุล: Aetobatus
สปีชีส์: A.  narinari
ชื่อทวินาม
Aetobatus narinari
(Euphrasen, 1790)
แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์
ชื่อพ้อง
  • Aetobatis latirostris
  • Aetobatis narinari
  • Aetomylus maculatus
  • Myliobatis eeltenkee
  • Myliobatis macroptera
  • Myliobatus punctatus
  • Raia quinqueaculeata
  • Raja narinari
  • Stoasodon narinari

ปลากระเบนค้างค้าวชื่อปลากระเบนหรือ ปลากระเบนเนื้อดำ หรือ ปลากระเบนนกจุดขาวหรือปลากระเบนยี่สน (อังกฤษ: Spotted eagle ray; ชื่อวิทยาศาสตร์: Aetobatus narinari) เป็นปลากระเบนชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลากระเบนนก (Myliobatidae)

มีผิวหนังเรียบ ใกล้โคนหางด้านบนมีเงี่ยง 1–4 เงี่ยง พบมากที่สุด 6 เงี่ยง เรียงอยู่ชิดกัน ด้านหลังสีดำมีจุดสีขาวกระจายอยู่ส่วนท้าย ด้านท้องสีขาว หางเรียวยาวมาก มีส่วนหัวที่แยกออกจากครีบเห็นได้ชัดเจน จึงทำให้ว่ายน้ำไปมาได้อย่างอิสระเหมือนนกบิน มีขนาดกว้างได้ถึง 1.5 เมตร เคยพบสูงสุดถึง 3 เมตร น้ำหนัก 230 กิโลกรัม[3]

หากินจำพวกสัตว์น้ำหน้าดิน เช่น หอย, กุ้ง, กั้ง, ปู บริเวณใต้พื้นน้ำเป็นอาหาร โดยใช้ปากคุ้ยเขี่ยพื้นทรายหา บางครั้งอาจเข้ามาหากินถึงบริเวณปากแม่น้ำที่เป็นน้ำกร่อยได้ บางครั้งจะรวมตัวกันเป็นฝูงหลายตัว และสามารถดำน้ำได้ลึกถึง 80 เมตร

พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวาง ทั้งมหาสมุทรแปซิฟิก, มหาสมุทรแอตแลนติก, มหาสมุทรอินเดีย ตั้งแต่ฮาวาย, อ่าวเม็กซิโก, ชายฝั่งทะเลของแอฟริกาตะวันตก, ชายฝั่งทะเลของสหรัฐอเมริกา และโอเชียเนีย

ปลากระเบนค้างคาวออกลูกเป็นไข่ แต่ไข่ได้พัฒนาเป็นตัวในช่องท้องของปลาตัวเมีย เมื่อแรกเกิดลูกปลาจะมีถุงไข่แดงติดตัวมาด้วย

ปลากระเบนค้างคาวสนนั้น มักถูกล่าเป็นอาหารจากปลาฉลาม โดยเฉพาะปลาฉลามหัวค้อน[4] สำหรับความสัมพันธ์ต่อมนุษย์แล้ว นิยมเลี้ยงในพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำต่าง ๆ เพราะความสวยงามในสีสันและการว่ายน้ำ และยังนิยมใช้เนื้อเพื่อการบริโภคด้วยทั้งการบริโภคสดและเก็บรักษาเป็นปลาแห้ง และทำเป็นปลาหย็อง[5]

รูปภาพ

อ้างอิง

  1. Summers, Adam (2001). "Aetobatus narinari". Digital Morphology. สืบค้นเมื่อ 1 November 2011.
  2. Kyne, P.M., Ishihara, H., Dudley, S.F.J. & White, W.T. (2006). Aetobatus narinari. In: IUCN 2006. IUCN Red List of Threatened Species. Downloaded on 24 February 2009.
  3. SPOTTED EAGLE RAY
  4. Chapman, D.D. and Gruber, S.H. (May 2002). "A further observation of the prey-handling behavior of the great hammerhead shark, Sphyrna mokarran: predation upon the spotted eagle ray, Aetobatus narinari". Bulletin of Marine Science 70 (3): 947–952
  5. ปลาค้างคาวสนหยอง ของดีเมืองแม่กลอง

แหล่งข้อมูลอื่น