ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาสมุทร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
คัดลอกมาจาก http://www.marine.tmd.go.th/thai/oceanhtml/oceandoc.html
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''มหาสมุทร''' ({{lang-en|ocean}}) เป็นผืนน้ำ[[ทะเล]]ขนาดใหญ่เชื่อมต่อกัน และครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 3 ใน 4 (71%) ของพื้นผิว[[โลก]] มหาสมุทรเรียงตามลำดับขนาดจากมากไปน้อยได้แก่ [[มหาสมุทรแปซิฟิก]] [[มหาสมุทรแอตแลนติก]] [[มหาสมุทรอินเดีย]] [[มหาสมุทรใต้]] และ[[มหาสมุทรอาร์กติก]]<ref name="oed.130201">{{cite web |url=http://www.oed.com/view/Entry/130201?redirectedFrom=ocean#eid |title=ocean, n |publisher=Oxford English Dictionary |accessdate=February 5, 2012 }}</ref><ref name="mw.ocean">{{cite web |url=http://www.merriam-webster.com/dictionary/ocean |title=ocean |publisher=Merriam-Webster |accessdate=February 6, 2012 }}</ref> คำว่า ''sea'' หรือ''[[ทะเล]]'' บางครั้งใช้แทนคำว่า "ocean" หรือ "มหาสมุทร" ใน[[ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน]]ได้ แต่หากเจาะจงการพูดแล้ว sea คือแหล่งน้ำเค็ม (ส่วนหนึ่งของมหาสมุทร) ส่วนที่มีพื้นที่ติดพื้นดิน<ref name="pri.sea">{{cite web |url=http://wordnetweb.princeton.edu/perl/webwn?s=sea |title=WordNet Search — sea |publisher=Princeton University |accessdate=February 21, 2012 }}</ref>
'''มหาสมุทร''' ({{lang-en|ocean}}) เป็นผืนน้ำ[[ทะเล]]ขนาดใหญ่เชื่อมต่อกัน และครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 3 ใน 4 (71%) ของพื้นผิว[[โลก]] มหาสมุทรเรียงตามลำดับขนาดจากมากไปน้อยได้แก่ [[มหาสมุทรแปซิฟิก]] [[มหาสมุทรแอตแลนติก]] [[มหาสมุทรอินเดีย]] [[มหาสมุทรใต้]] และ[[มหาสมุทรอาร์กติก]]<ref name="oed.130201">{{cite web |url=http://www.oed.com/view/Entry/130201?redirectedFrom=ocean#eid |title=ocean, n |publisher=Oxford English Dictionary |accessdate=February 5, 2012 }}</ref><ref name="mw.ocean">{{cite web |url=http://www.merriam-webster.com/dictionary/ocean |title=ocean |publisher=Merriam-Webster |accessdate=February 6, 2012 }}</ref> คำว่า ''sea'' หรือ''[[ทะเล]]'' บางครั้งใช้แทนคำว่า "ocean" หรือ "มหาสมุทร" ใน[[ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน]]ได้ แต่หากเจาะจงการพูดแล้ว sea คือแหล่งน้ำเค็ม (ส่วนหนึ่งของมหาสมุทร) ส่วนที่มีพื้นที่ติดพื้นดิน<ref name="pri.sea">{{cite web |url=http://wordnetweb.princeton.edu/perl/webwn?s=sea |title=WordNet Search — sea |publisher=Princeton University |accessdate=February 21, 2012 }}</ref>


มวลน้ำเค็มปกคลุมประมาณ 72% ของพื้นผิวโลก (~3.6{{e|8}}&nbsp;กม.<sup>2</sup>) และถูกแบ่งเป็นมหาสมุทรหลัก ๆ และทะเลขนาดเล็กอีกหลายแห่ง โดยมหาสมุทรจะครอบคลุมพื้นที่โลกประมาณ 71%<ref name="noaa.gov">{{cite web |title=NOAA – National Oceanic and Atmospheric Administration – Ocean |url=http://www.noaa.gov/ocean.html |publisher=Noaa.gov |accessdate=2012-11-08 }}</ref> มหาสมุทรประกอบด้วยน้ำของโลก 97% และ[[สมุทรศาสตร์|นักสมุทรศาสตร์]]กล่าวว่ามหาสมุทรในโลกเพิ่งได้มีการสำรวจไปได้เพียง 5% เท่านั้น<ref name="noaa.gov" /> ปริมาตรสุทธิมีประมาณ 1.35 พันล้านลูกบาศก์กิโลเมตร (320 ล้านลูกบาศก์ไมล์)<ref name="hypertextbook2003">{{cite web |last=Qadri |first=Syed |title=Volume of Earth's Oceans |work=The Physics Factbook |date=2003 |url=http://hypertextbook.com/facts/2001/SyedQadri.shtml |accessdate=2007-06-07 }}</ref> มีความลึกเฉลี่ยที่ {{convert|3700|m|ft|sp=us}}<ref name="Charette_Smith_Ocean-depth">{{cite journal |last=Charette |first=Matthew |last2=Smith |first2=Walter H. F. |title=The volume of Earth's ocean |journal=Oceanography |date=2010 |volume=23 |issue=2 |pages=112–114 |doi=10.5670/oceanog.2010.51 |url=http://www.tos.org/oceanography/archive/23-2_charette.html |accessdate=27 September 2012 }}</ref><ref name="NOAA" />
มหาสมุทรทั่วโลกมีพื้นที่รวม 361 ล้าน[[ตารางกิโลเมตร]] ปริมาตร 1,370 ล้าน[[ลูกบาศก์กิโลเมตร]] มีความลึกเฉลี่ย 3,790 [[เมตร]] ไม่นับรวมทะเลที่ไม่เชื่อมต่อกับมหาสมุทร อาทิ [[ทะเลแคสเปียน]]

มวลรวมของส่วนอุทกภาคมีค่าประมาณ 1.4×10<sup>21</sup> [[กิโลกรัม]] คิดเป็น 0.023 % ของมวลโลก


[[องค์การอุทกศาสตร์สากล]] (International Hydrographic Organization) เป็นผู้กำหนดเส้นแบ่งเขตระหว่างแต่ละมหาสมุทร ยกตัวอย่างเช่น มหาสมุทรใต้เริ่มจากชายฝั่ง[[ทวีปแอนตาร์กติกา]]ไปถึงละติจูด 60 องศาใต้ พื้นที่ที่มีขนาดเล็กกว่ามหาสมุทร เรียกว่า [[ทะเล]] [[อ่าว]] [[ช่องแคบ]] ฯลฯ
[[องค์การอุทกศาสตร์สากล]] (International Hydrographic Organization) เป็นผู้กำหนดเส้นแบ่งเขตระหว่างแต่ละมหาสมุทร ยกตัวอย่างเช่น มหาสมุทรใต้เริ่มจากชายฝั่ง[[ทวีปแอนตาร์กติกา]]ไปถึงละติจูด 60 องศาใต้ พื้นที่ที่มีขนาดเล็กกว่ามหาสมุทร เรียกว่า [[ทะเล]] [[อ่าว]] [[ช่องแคบ]] ฯลฯ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:17, 23 กันยายน 2558

มหาสมุทร (อังกฤษ: ocean) เป็นผืนน้ำทะเลขนาดใหญ่เชื่อมต่อกัน และครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 3 ใน 4 (71%) ของพื้นผิวโลก มหาสมุทรเรียงตามลำดับขนาดจากมากไปน้อยได้แก่ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และมหาสมุทรอาร์กติก[1][2] คำว่า sea หรือทะเล บางครั้งใช้แทนคำว่า "ocean" หรือ "มหาสมุทร" ในภาษาอังกฤษแบบอเมริกันได้ แต่หากเจาะจงการพูดแล้ว sea คือแหล่งน้ำเค็ม (ส่วนหนึ่งของมหาสมุทร) ส่วนที่มีพื้นที่ติดพื้นดิน[3]

มวลน้ำเค็มปกคลุมประมาณ 72% ของพื้นผิวโลก (~3.6×108 กม.2) และถูกแบ่งเป็นมหาสมุทรหลัก ๆ และทะเลขนาดเล็กอีกหลายแห่ง โดยมหาสมุทรจะครอบคลุมพื้นที่โลกประมาณ 71%[4] มหาสมุทรประกอบด้วยน้ำของโลก 97% และนักสมุทรศาสตร์กล่าวว่ามหาสมุทรในโลกเพิ่งได้มีการสำรวจไปได้เพียง 5% เท่านั้น[4] ปริมาตรสุทธิมีประมาณ 1.35 พันล้านลูกบาศก์กิโลเมตร (320 ล้านลูกบาศก์ไมล์)[5] มีความลึกเฉลี่ยที่ 3,700 เมตร (12,100 ฟุต)*[6][7]

องค์การอุทกศาสตร์สากล (International Hydrographic Organization) เป็นผู้กำหนดเส้นแบ่งเขตระหว่างแต่ละมหาสมุทร ยกตัวอย่างเช่น มหาสมุทรใต้เริ่มจากชายฝั่งทวีปแอนตาร์กติกาไปถึงละติจูด 60 องศาใต้ พื้นที่ที่มีขนาดเล็กกว่ามหาสมุทร เรียกว่า ทะเล อ่าว ช่องแคบ ฯลฯ

อ้างอิง

  1. "ocean, n". Oxford English Dictionary. สืบค้นเมื่อ February 5, 2012.
  2. "ocean". Merriam-Webster. สืบค้นเมื่อ February 6, 2012.
  3. "WordNet Search — sea". Princeton University. สืบค้นเมื่อ February 21, 2012.
  4. 4.0 4.1 "NOAA – National Oceanic and Atmospheric Administration – Ocean". Noaa.gov. สืบค้นเมื่อ 2012-11-08.
  5. Qadri, Syed (2003). "Volume of Earth's Oceans". The Physics Factbook. สืบค้นเมื่อ 2007-06-07.
  6. Charette, Matthew; Smith, Walter H. F. (2010). "The volume of Earth's ocean". Oceanography. 23 (2): 112–114. doi:10.5670/oceanog.2010.51. สืบค้นเมื่อ 27 September 2012.
  7. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ NOAA
  • Pope, F. 2009. From eternal darkness springs cast of angels and jellied jewels. in The Times. November 23. 2009 p. 16 - 17.