ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เขตขั้วโลก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
→‎คำจำกัดความ: แก้คำผิด
บรรทัด 4: บรรทัด 4:


== คำจำกัดความ ==
== คำจำกัดความ ==
บริเวณอาร์กติกมีคำจำกัดความมากมาย รวมบริเวณทางเหนือของวงรอบอาร์คติกในปัจจุบัน (66 องศา 33 ลิบดา 44 พิลิบดาเหนือ) หรือบริเวณที่อยู่เหนือเส้นละติจูด 60 องศาเหนือ หรือดินแดนที่นับจากขั้วโลกเหนือลงมาทางใต้ถึง timberline
บริเวณอาร์กติกมีคำจำกัดความมากมาย รวมบริเวณทางเหนือของวงรอบอาร์คติกในปัจจุบัน (66 องศา 33 ลิปดา 44 พิลิปดา เหนือ) หรือบริเวณที่อยู่เหนือเส้นละติจูด 60 องศาเหนือ หรือดินแดนที่นับจากขั้วโลกเหนือลงมาทางใต้ถึง timberline


บริเวณแอนตาร์กติกโดยทั่วไปกำหนดตั้งแต่ 60 องศาใต้ ซึ่งเป็นข้อกำหนดใน[[สนธิสัญญาแอนตาร์กติกา พ.ศ. 2502]] บางครั้งกำหนดเป็นบริเวณทวีปแอนตาร์กติกา
บริเวณแอนตาร์กติกโดยทั่วไปกำหนดตั้งแต่ 60 องศาใต้ ซึ่งเป็นข้อกำหนดใน[[สนธิสัญญาแอนตาร์กติกา พ.ศ. 2502]] บางครั้งกำหนดเป็นบริเวณทวีปแอนตาร์กติกา

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:07, 5 เมษายน 2557

ดินแดนขั้วโลก คือเขตที่อยู่เหนือและใต้สุดของโลกที่อยู่รอบๆบริเวณขั้วโลกทั้งขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้ โดยมีขั้วโลกเป็นจุดศูนย์กลาง มีน้ำแข็ง ปกคลุม ได้แก่บริเวณมหาสมุทรอาร์กติกและทวีปแอนตาร์กติกา สำหรับขั้วโลกใต้เป็นดินแดนที่ไม่มีคนอยู่อาศัย ตามที่ได้กำหนดนโยบายกันว่าห้ามให้แต่ละประเทศเข้าไปจับจองพื้นที่ แต่ยังคงมีนักวิจัยเข้ามาวิจัยในพื้นที่นี้อยู่บ้าง ปัจจุบัน เกิดการละลายตัวของน้ำแข็งขั้วโลกบางส่วนซึ่งน่าจะเป็นผลมาจากภาวะโลกร้อน

คำจำกัดความ

บริเวณอาร์กติกมีคำจำกัดความมากมาย รวมบริเวณทางเหนือของวงรอบอาร์คติกในปัจจุบัน (66 องศา 33 ลิปดา 44 พิลิปดา เหนือ) หรือบริเวณที่อยู่เหนือเส้นละติจูด 60 องศาเหนือ หรือดินแดนที่นับจากขั้วโลกเหนือลงมาทางใต้ถึง timberline

บริเวณแอนตาร์กติกโดยทั่วไปกำหนดตั้งแต่ 60 องศาใต้ ซึ่งเป็นข้อกำหนดในสนธิสัญญาแอนตาร์กติกา พ.ศ. 2502 บางครั้งกำหนดเป็นบริเวณทวีปแอนตาร์กติกา

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น