ผลต่างระหว่างรุ่นของ "งูหลามปากเป็ด"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
| binomial_authority = [[Hermann Schlegel|Schlegel]], [[ค.ศ. 1872|1872]]
| binomial_authority = [[Hermann Schlegel|Schlegel]], [[ค.ศ. 1872|1872]]
| subdivision = *''P. c. curtus''<br>
| subdivision = *''P. c. curtus''<br>
*''P. c. breitensteini''<br>
*''[[Python curtus breitensteini|P. c. breitensteini]]''<br>
*''P. c. brongersmai''
*''[[Python curtus brongersmai|P. c. brongersmai]]''
| subdivision_ranks = [[ชนิดย่อย]]
| subdivision_ranks = [[ชนิดย่อย]]
| range_map =Geographic distributions-Python.curtus-brongersmai-breitensteini.jpg
| range_map =Geographic distributions-Python.curtus-brongersmai-breitensteini.jpg
บรรทัด 31: บรรทัด 31:
พบใน[[ประเทศไทย]]ตั้งแต่ [[จังหวัดประจวบคีรีขันธ์]]ลงไป จนถึง[[มาเลเซีย]]และ[[สิงคโปร์]] เป็นงูที่ไม่ค่อยขึ้นต้นไม้ มักจะซุ่มรออาหารตามพื้นดินที่เฉอะแฉะใกล้แหล่งน้ำ<ref>[http://rirs3.royin.go.th/new-search/word-search-all-x.asp ความหมายของคำว่า "ปากเป็ด" ตาม[[พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]]]</ref> ที่โดยมากเป็น[[สัตว์เลือดอุ่น]]ขนาดเล็ก งูหลามปากเป็ดวางไข่ครั้งละประมาณ 30-50 ฟอง <ref>[http://www.2snake2fish.com/snake/python/blood-python.htm งูหลามปากเป็ด]</ref>
พบใน[[ประเทศไทย]]ตั้งแต่ [[จังหวัดประจวบคีรีขันธ์]]ลงไป จนถึง[[มาเลเซีย]]และ[[สิงคโปร์]] เป็นงูที่ไม่ค่อยขึ้นต้นไม้ มักจะซุ่มรออาหารตามพื้นดินที่เฉอะแฉะใกล้แหล่งน้ำ<ref>[http://rirs3.royin.go.th/new-search/word-search-all-x.asp ความหมายของคำว่า "ปากเป็ด" ตาม[[พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]]]</ref> ที่โดยมากเป็น[[สัตว์เลือดอุ่น]]ขนาดเล็ก งูหลามปากเป็ดวางไข่ครั้งละประมาณ 30-50 ฟอง <ref>[http://www.2snake2fish.com/snake/python/blood-python.htm งูหลามปากเป็ด]</ref>


แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดย่อย คือ ''P. c. curtus'', ''P. c. breitensteini'' พบใน[[บอร์เนียว]] และ ''P. c. brongersmai'' พบใน[[แหลมมลายู|เพนนิซูล่า]]ของ[[มาเลเซีย]]และ[[สิงคโปร์]] เป็น[[สัตว์ป่าคุ้มครอง]]ตาม[[พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535]] นิยมเลี้ยงเป็น[[สัตว์เลี้ยง]]ของผู้ที่นิยมสัตว์เลื้อยคลานเพราะมีความ[[สวย]]งาม
แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดย่อย คือ ''P. c. curtus'' เป็นชนิดทั่วไป, ''[[Python curtus breitensteini|P. c. breitensteini]]'' พบใน[[บอร์เนียว]] และ ''[[Python curtus brongersmai|P. c. brongersmai]]'' พบใน[[แหลมมลายู|เพนนิซูล่า]]ของ[[มาเลเซีย]]และ[[สิงคโปร์]] เป็น[[สัตว์ป่าคุ้มครอง]]ตาม[[พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535]] นิยมเลี้ยงเป็น[[สัตว์เลี้ยง]]ของผู้ที่นิยมสัตว์เลื้อยคลานเพราะมีความ[[สวย]]งาม


ซึ่งในบางข้อมูลจะให้ชนิดย่อยทั้ง 3 ชนิดนี้เป็น[[Species|ชนิดใหม่]]ต่างหากไปเลย<ref>[http://www.siamreptile.com/index.php?m=article&a=show&article_id=96 งูหลามปากเป็ด งูสวยจากดินแดนมลายู]</ref> <ref>[http://reptile-database.reptarium.cz/ จาก reptiledatabase {{en}}]</ref>
ซึ่งในบางข้อมูลจะให้ชนิดย่อยทั้ง 3 ชนิดนี้เป็น[[Species|ชนิดใหม่]]ต่างหากไปเลย<ref>[http://www.siamreptile.com/index.php?m=article&a=show&article_id=96 งูหลามปากเป็ด งูสวยจากดินแดนมลายู]</ref> <ref>[http://reptile-database.reptarium.cz/ จาก reptiledatabase {{en}}]</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:01, 18 มกราคม 2556

งูหลามปากเป็ด
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Reptilia
อันดับ: Squamata
อันดับย่อย: Serpentes
วงศ์: Pythonidae
สกุล: Python
สปีชีส์: P.  curtus
ชื่อทวินาม
Python curtus
Schlegel, 1872
ชนิดย่อย
แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์ของงูหลามปากเป็ด
ชื่อพ้อง
  • Python breitensteini Steindachner, 1881
  • Aspidoboa curta Sauvage, 1884

งูหลามปากเป็ด (อังกฤษ: Blood python; ชื่อวิทยาศาสตร์: Python curtus) เป็นงูไม่มีพิษ มีลำตัวที่อ้วน หนา กว่างูหลามและงูเหลือม แต่มีหางที่สั้นแลดูไม่สมส่วน และมีลวดลายที่แปลกออกไป มีหลายหลากสี ทั้งน้ำตาล แดง เหลือง ส้ม หรือ เขียว โดยงูแต่ละตัวจะมีสีสันและลวดลายต่างกันออกไป ขนาดโตเต็มที่ได้ประมาณ 1.50 เมตร จัดเป็นงูที่มีขนาดที่สุดในสกุลนี้

พบในประเทศไทยตั้งแต่ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ลงไป จนถึงมาเลเซียและสิงคโปร์ เป็นงูที่ไม่ค่อยขึ้นต้นไม้ มักจะซุ่มรออาหารตามพื้นดินที่เฉอะแฉะใกล้แหล่งน้ำ[1] ที่โดยมากเป็นสัตว์เลือดอุ่นขนาดเล็ก งูหลามปากเป็ดวางไข่ครั้งละประมาณ 30-50 ฟอง [2]

แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดย่อย คือ P. c. curtus เป็นชนิดทั่วไป, P. c. breitensteini พบในบอร์เนียว และ P. c. brongersmai พบในเพนนิซูล่าของมาเลเซียและสิงคโปร์ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงของผู้ที่นิยมสัตว์เลื้อยคลานเพราะมีความสวยงาม

ซึ่งในบางข้อมูลจะให้ชนิดย่อยทั้ง 3 ชนิดนี้เป็นชนิดใหม่ต่างหากไปเลย[3] [4]

รูปภาพ

อ้างอิง