ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเป็นเจ้า"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 3908435 สร้างโดย 1.4.134.251 (พูดคุย)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{สั้นมาก}}
'''พระเจ้า''' ({{lang-en|God}}) หมายถึง พระผู้เป็นเจ้าสูงสุด คือ ผู้สร้างและบรรดาลสรรพสิ่ง ตามความเชื่อของศาสนาประเภทเอกเทวนิยม อันเป็นที่สักการะบูชาของศาสนาต่างๆ เช่น พระ[[อัลลอหฺ]]ของ[[ศาสนาอิสลาม]] [[พระยาห์เวห์]]ของ[[ศาสนาคริสต์]] และอื่น ๆ ระวังสับสนกับคำว่า "[[เทวดา]]" หรือ "[[เทพเจ้า]]" ({{lang-en|deity หรือ gods}}) ซึ่งมีความหมายในเชิงปกรณัมแบบ[[พหุเทวนิยม]]


'''พระเจ้า''' หรือ '''พระเป็นเจ้า'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', พิมพ์ครั้งที่ 4, 2548, หน้า 41</ref> ({{lang-en|God}}) หมายถึง [[เทพ]]ผู้เป็นใหญ่<ref>[http://rirs3.royin.go.th/word23/word-23-a0.asp พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒]" [[ราชบัณฑิตยสถาน]]</ref> ถือเป็น[[เทวดา]]เพียงพระองค์เดียวตามความเชื่อแบบ[[เอกเทวนิยม]] หรือเป็นเทวดาผู้[[เอกนิยม|เป็นสารัตถะเดียวของเอกภพ]]ตามความเชื่อแบบ[[พหุเทวนิยม]] พระเจ้าถือว่าเป็นผู้อยู่[[เหนือธรรมชาติ]] ผู้ทรงสร้างและปกครอง[[เอกภพ]] นัก[[เทววิทยา]]ได้อธิบาย[[คุณลักษณะของพระเจ้า]]ไว้ต่าง ๆ กันตามแต่[[มโนทัศน์เกี่ยวกับพระเจ้า]]ของบุคคลนั้น โดยทั่วไปถือว่าพระเจ้าทรงเป็น[[สัพพัญญู]] ทรงอำนาจไร้ขีดจำกัด ทรงสถิตอยู่ทุกหนแห่ง ทรงพระเมตตา เป็นภาวะเชิงเดียวที่ไม่แบ่งแยก ทรงสถิตอยู่ชั่วนิรันดร์ และเอกภพไม่อาจอยู่ได้โดยปราศจากพระองค์
[[หมวดหมู่:ศาสนา]]

นอกจากนี้ยังเชื่อกันว่าพระเจ้าทรงมีสภาพเป็น[[บุคคล]] เป็น[[จิตวิญญาณ]] เป็นต้นกำเนิดของพันธะทาง[[ศีลธรรม]]ทั้งปวง เป็นสิ่งที่ยิ่งใหญ่ที่สุดเท่าที่มนุษย์จะรับรู้ได้ นักเทววิทยาใน[[ศาสนายูดาห์]] [[ศาสนาคริสต์]] และ[[ศาสนาอิสลาม]]สนับสนุนทรรศนะนี้เช่นนี้ ส่วนใน[[ปรัชญาสมัยกลาง|สมัยกลาง]]และ[[ปรัชญาสมัยใหม่|สมัยใหม่]]นัก[[ปรัชญา]]ก็ยังคงให้เหตุผลสนับสนุนและคัดค้านกันว่าพระเจ้ามีอยู่จริงหรือไม่

พระเจ้ามีหลายพระนามแตกต่างกันไปตามวัฒนธรรมที่นับถือ ว่าจะมองพระองค์เป็นใครและมีแง่มุมต่าง ๆ อย่างไร เช่น [[คัมภีร์ฮีบรู]]และ[[คัมภีร์ไบเบิล]]ภาค[[พันธสัญญาเดิม]]ระบุว่าพระเจ้ามีพระนามว่า "[[พระยาห์เวห์]]" หรือ "เราเป็น"<ref>พระคริสตธรรมคัมภีร์ไทย ฉบับมาตรฐาน [http://www.bible.is/THATSV/Exod/3#14 อพยพ 3:14]</ref> แต่ในศาสนายูดาห์มักหลีกเลี่ยงการออกพระนามศักดิ์สิทธิ์นี้ แล้วออกพระนามว่า "[[เอโลฮิม]]" หรือ "[[อะโดนาย]]" ซึ่งแปลเป็นภาษาไทยว่า "องค์พระผู้เป็นเจ้า" แทน ในศาสนาอิสลามมีพระนามพระเจ้าถึง 99 พระนาม พระนามที่ใช้มากที่สุดคือ "[[อัลลอฮ์]]"

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}

[[หมวดหมู่:พระเจ้า|*]]
{{โครงความเชื่อ}}


[[af:God]]
[[af:God]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:48, 11 มิถุนายน 2555

พระเจ้า หรือ พระเป็นเจ้า[1] (อังกฤษ: God) หมายถึง เทพผู้เป็นใหญ่[2] ถือเป็นเทวดาเพียงพระองค์เดียวตามความเชื่อแบบเอกเทวนิยม หรือเป็นเทวดาผู้เป็นสารัตถะเดียวของเอกภพตามความเชื่อแบบพหุเทวนิยม พระเจ้าถือว่าเป็นผู้อยู่เหนือธรรมชาติ ผู้ทรงสร้างและปกครองเอกภพ นักเทววิทยาได้อธิบายคุณลักษณะของพระเจ้าไว้ต่าง ๆ กันตามแต่มโนทัศน์เกี่ยวกับพระเจ้าของบุคคลนั้น โดยทั่วไปถือว่าพระเจ้าทรงเป็นสัพพัญญู ทรงอำนาจไร้ขีดจำกัด ทรงสถิตอยู่ทุกหนแห่ง ทรงพระเมตตา เป็นภาวะเชิงเดียวที่ไม่แบ่งแยก ทรงสถิตอยู่ชั่วนิรันดร์ และเอกภพไม่อาจอยู่ได้โดยปราศจากพระองค์

นอกจากนี้ยังเชื่อกันว่าพระเจ้าทรงมีสภาพเป็นบุคคล เป็นจิตวิญญาณ เป็นต้นกำเนิดของพันธะทางศีลธรรมทั้งปวง เป็นสิ่งที่ยิ่งใหญ่ที่สุดเท่าที่มนุษย์จะรับรู้ได้ นักเทววิทยาในศาสนายูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลามสนับสนุนทรรศนะนี้เช่นนี้ ส่วนในสมัยกลางและสมัยใหม่นักปรัชญาก็ยังคงให้เหตุผลสนับสนุนและคัดค้านกันว่าพระเจ้ามีอยู่จริงหรือไม่

พระเจ้ามีหลายพระนามแตกต่างกันไปตามวัฒนธรรมที่นับถือ ว่าจะมองพระองค์เป็นใครและมีแง่มุมต่าง ๆ อย่างไร เช่น คัมภีร์ฮีบรูและคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิมระบุว่าพระเจ้ามีพระนามว่า "พระยาห์เวห์" หรือ "เราเป็น"[3] แต่ในศาสนายูดาห์มักหลีกเลี่ยงการออกพระนามศักดิ์สิทธิ์นี้ แล้วออกพระนามว่า "เอโลฮิม" หรือ "อะโดนาย" ซึ่งแปลเป็นภาษาไทยว่า "องค์พระผู้เป็นเจ้า" แทน ในศาสนาอิสลามมีพระนามพระเจ้าถึง 99 พระนาม พระนามที่ใช้มากที่สุดคือ "อัลลอฮ์"

อ้างอิง

  1. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 4, 2548, หน้า 41
  2. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒" ราชบัณฑิตยสถาน
  3. พระคริสตธรรมคัมภีร์ไทย ฉบับมาตรฐาน อพยพ 3:14