ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จอร์จ บาร์กลีย์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thijs!bot (คุย | ส่วนร่วม)
2T (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
'''จอร์จ บาร์กลีย์''' (George Berkeley) ([[12 มี.ค.]], ค.ศ. 1685 ([[พ.ศ. 2228]]) – [[14 ม.ค.]], ค.ศ. 1753 ([[พ.ศ. 2296]])) หรือที่รู้จักในชื่อ '''บิชอปบาร์กลีย์''' เป็น[[นักปรัชญา]]ชาว[[ไอร์แลนด์]]ที่มีอิทธิพลสูงคนหนึ่ง โดยผลงานด้านปรัชญาของเขาที่สำคัญได้แก่แนวคิด[[จิตนิยมอัตวิสัย]] ซึ่งสามารถสรุปได้ด้วยประโยคของบาร์กลีย์ที่ว่า ''"Esse est percipi"'' ("การเป็นอยู่คือการถูกรับรู้") โดยพื้นฐานแล้ว ทฤษฎีดังกล่าวอธิบายว่าสสารนั้นไม่มีจริง ทุกอย่างนั้นล้วนแต่เป็นกิจกรรมที่เกิดขึ้นในจิตเท่านั้น. เขาเขียนผลงานออกมาหลายชิ้น ชิ้นที่มีผู้อ่านอย่างกว้างขวางคือ ''บทความว่าด้วยหลักการพื้นฐานของความรู้ของมนุษย์'' และ ''บทสนทนาสามบทระหว่างเฮลาส และฟิโลนูอัส'' (ฟิโลนูอัส ผู้รักในจิต เป็นตัวแทนของบาร์กลีย์). ในปี [[ค.ศ. 1734]] เขาได้ตีพิมพ์ ''บทวิเคราะห์'' ซึ่งเป็นบทวิพากษ์รากฐานของวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีอิทธิพลต่อพัฒนาการของคณิตศาสตร์ในเวลาต่อมา
'''จอร์จ บาร์กลีย์''' (George Berkeley) ([[12 มี.ค.]], ค.ศ. 1685 ([[พ.ศ. 2228]]) – [[14 ม.ค.]], ค.ศ. 1753 ([[พ.ศ. 2296]])) หรือที่รู้จักในชื่อ '''บิชอปบาร์กลีย์''' เป็น[[นักปรัชญา]]ชาว[[ไอร์แลนด์]]ที่มีอิทธิพลสูงคนหนึ่ง โดยผลงานด้านปรัชญาของเขาที่สำคัญได้แก่แนวคิด[[จิตนิยมอัตวิสัย]] ซึ่งสามารถสรุปได้ด้วยประโยคของบาร์กลีย์ที่ว่า ''"Esse est percipi"'' ("การเป็นอยู่คือการถูกรับรู้") โดยพื้นฐานแล้ว ทฤษฎีดังกล่าวอธิบายว่าสสารนั้นไม่มีจริง ทุกอย่างนั้นล้วนแต่เป็นกิจกรรมที่เกิดขึ้นในจิตเท่านั้น. เขาเขียนผลงานออกมาหลายชิ้น ชิ้นที่มีผู้อ่านอย่างกว้างขวางคือ ''บทความว่าด้วยหลักการพื้นฐานของความรู้ของมนุษย์'' และ ''บทสนทนาสามบทระหว่างเฮลาส และฟิโลนูอัส'' (ฟิโลนูอัส ผู้รักในจิต เป็นตัวแทนของบาร์กลีย์). ในปี [[ค.ศ. 1734]] เขาได้ตีพิมพ์ ''บทวิเคราะห์'' ซึ่งเป็นบทวิพากษ์รากฐานของวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีอิทธิพลต่อพัฒนาการของคณิตศาสตร์ในเวลาต่อมา


{{birth|1685}}{{death|1753}}
{{โครงชีวประวัติ}}
{{โครงชีวประวัติ}}
{{นักปรัชญาตะวันตก}}
{{นักปรัชญาตะวันตก}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:25, 6 มกราคม 2550

ไฟล์:BishBerk.jpg
บิชอปจอร์จ บาร์กลีย์

จอร์จ บาร์กลีย์ (George Berkeley) (12 มี.ค., ค.ศ. 1685 (พ.ศ. 2228) – 14 ม.ค., ค.ศ. 1753 (พ.ศ. 2296)) หรือที่รู้จักในชื่อ บิชอปบาร์กลีย์ เป็นนักปรัชญาชาวไอร์แลนด์ที่มีอิทธิพลสูงคนหนึ่ง โดยผลงานด้านปรัชญาของเขาที่สำคัญได้แก่แนวคิดจิตนิยมอัตวิสัย ซึ่งสามารถสรุปได้ด้วยประโยคของบาร์กลีย์ที่ว่า "Esse est percipi" ("การเป็นอยู่คือการถูกรับรู้") โดยพื้นฐานแล้ว ทฤษฎีดังกล่าวอธิบายว่าสสารนั้นไม่มีจริง ทุกอย่างนั้นล้วนแต่เป็นกิจกรรมที่เกิดขึ้นในจิตเท่านั้น. เขาเขียนผลงานออกมาหลายชิ้น ชิ้นที่มีผู้อ่านอย่างกว้างขวางคือ บทความว่าด้วยหลักการพื้นฐานของความรู้ของมนุษย์ และ บทสนทนาสามบทระหว่างเฮลาส และฟิโลนูอัส (ฟิโลนูอัส ผู้รักในจิต เป็นตัวแทนของบาร์กลีย์). ในปี ค.ศ. 1734 เขาได้ตีพิมพ์ บทวิเคราะห์ ซึ่งเป็นบทวิพากษ์รากฐานของวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีอิทธิพลต่อพัฒนาการของคณิตศาสตร์ในเวลาต่อมา