ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซีกโลกเหนือ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8451498 โดย Ponpanด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Nordhalbkugel gr.png|thumb|230px|แผนที่ทางภูมิศาสตร์ของซีกโลกเหนือ]]
[[ไฟล์:Nordhalbkugel gr.png|thumb|230px|แผนที่ทางภูมิศาสตร์ของซีกโลกเหนือ]]
[[ไฟล์:Global hemispheres.svg|thumb|230px]]
[[ไฟล์:Global hemispheres.svg|thumb|230px|บริเวณสีน้ำเงินคือซีกโลกเหนือ ส่วนบริเวณสีเหลืองคือ[[ซีกโลกใต้]] แนวเขตที่แบ่งซีกโลกออกเป็นสองซีกคือ[[เส้นศูนย์สูตร]]]]
'''ซีกเป็นพี่ของเอเลน ชื่อโยชิคาเงะ คิระ'''
'''ซีกโลกเหนือ''' ({{lang-en|northern hemisphere}}) คือบริเวณของ[[โลก]]ที่อยู่เหนือ[[เส้นศูนย์สูตร]]ขึ้นไปจนถึง[[ขั้วโลกเหนือ]] ตรงข้ามกับ[[ซีกโลกใต้]] ค่า[[พิกัดภูมิศาสตร์]]ของ[[ละติจูด]]ของตำแหน่งใดก็ตามบนซีกโลกเหนือจะเป็นบวกเสมอและใช้สัญลักษณ์แทนด้วยตัว ''N'' [[ฤดูหนาว]]ของพื้นที่ในซีกโลกเหนือจะเริ่มตั้งแต่[[เหมายัน]] (ราววันที่ 21 ธันวาคม) จนถึง[[วสันตวิษุวัต]] (ราววันที่ 20 มีนาคม) ส่วน[[ฤดูร้อน]]จะเริ่มตั้งแต่[[ครีษมายัน]] (ราววันที่ 21 มิถุนายน) ไปจนถึง[[ศารทวิษุวัต]] (ราววันที่ 23 กันยายน)


ซีกโลกเหนือประกอบด้วยพื้นน้ำมากกว่าแผ่นดินอย่างชัดเจน แต่ก็ยังปกคลุมด้วยแผ่นดินมากกว่าซีกโลกใต้ ซีกโลกเหนือประกอบด้วยแผ่นดิน 39 % และพื้นน้ำ 61 %<ref>Peter Hupfer, Wilhelm Kuttler, Ernst Heyer, Frank-Michael Chmielewski: ''Witterung und Klima: eine Einführung in die Meteorologie und Klimatologie''. Vieweg+Teubner Verlag, 2006, ISBN 3835100963, หน้า 13 {{de icon}}</ref> ประชากรราว 90 % ของโลกอาศัยอยู่ในซีกโลกเหนือ<ref>, Ogden, Philip E. "Density and Distribution of Population." [http://find.galegroup.com/gic/infomark.do?&contentSet=EBKS&idigest=fb720fd31d9036c1ed2d1f3a0500fcc2&type=retrieve&tabID=T001&prodId=GIC&docId=CX3403900089&source=gale&userGroupName=itsbtrial&version=1.0] ''Encyclopedia of Population''. Vol. 1., 2003. หน้า 221-226.</ref> แผ่นดินส่วนใหญ่เป็น[[ทวีปยุโรป]] [[ทวีปเอเชีย]] ซึ่งเป็น[[ทวีป]]ที่ใหญ่ที่สุดในโลก [[ทวีปอเมริกาเหนือ]] และส่วนใหญ่ของ[[ทวีปแอฟริกา]] นอกจากนี้ยังมีบางส่วนของ[[ทวีปอเมริกาใต้]] [[กรีนแลนด์]] เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก [[มหาสมุทร]]ที่มีพื้นที่อยู่ในซีกโลกเหนือได้แก่[[มหาสมุทรอาร์กติก]] [[มหาสมุทรแปซิฟิก]]และ[[มหาสมุทรแอตแลนติก|แอตแลนติก]]ราวครึ่งหนึ่ง และ[[มหาสมุทรอินเดีย]]บางส่วน
ซีกโลกเหนือประกอบด้วยพื้นน้ำมากกว่าแผ่นดินอย่างชัดเจน แต่ก็ยังปกคลุมด้วยแผ่นดินมากกว่าซีกโลกใต้ ซีกโลกเหนือประกอบด้วยแผ่นดิน 39 % และพื้นน้ำ 61 %<ref>Peter Hupfer, Wilhelm Kuttler, Ernst Heyer, Frank-Michael Chmielewski: ''Witterung und Klima: eine Einführung in die Meteorologie und Klimatologie''. Vieweg+Teubner Verlag, 2006, ISBN 3835100963, หน้า 13 {{de icon}}</ref> ประชากรราว 90 % ของโลกอาศัยอยู่ในซีกโลกเหนือ<ref>, Ogden, Philip E. "Density and Distribution of Population." [http://find.galegroup.com/gic/infomark.do?&contentSet=EBKS&idigest=fb720fd31d9036c1ed2d1f3a0500fcc2&type=retrieve&tabID=T001&prodId=GIC&docId=CX3403900089&source=gale&userGroupName=itsbtrial&version=1.0] ''Encyclopedia of Population''. Vol. 1., 2003. หน้า 221-226.</ref> แผ่นดินส่วนใหญ่เป็น[[ทวีปยุโรป]] [[ทวีปเอเชีย]] ซึ่งเป็น[[ทวีป]]ที่ใหญ่ที่สุดในโลก [[ทวีปอเมริกาเหนือ]] และส่วนใหญ่ของ[[ทวีปแอฟริกา]] นอกจากนี้ยังมีบางส่วนของ[[ทวีปอเมริกาใต้]] [[กรีนแลนด์]] เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก [[มหาสมุทร]]ที่มีพื้นที่อยู่ในซีกโลกเหนือได้แก่[[มหาสมุทรอาร์กติก]] [[มหาสมุทรแปซิฟิก]]และ[[มหาสมุทรแอตแลนติก|แอตแลนติก]]ราวครึ่งหนึ่ง และ[[มหาสมุทรอินเดีย]]บางส่วน
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
เนื่องจาก[[แรงคอริออลิส]]จาก[[การหมุน]]ของโลก [[บริเวณความกดอากาศต่ำ]]ที่กำเนิดในซีกโลกเหนือ เช่น [[เฮอร์ริเคน]]หรือ[[ไต้ฝุ่น]] จะปรากฏการหมุนของพายุในทิศทวนเข็มนาฬิกาเสมอ
เนื่องจาก[[แรงคอริออลิส]]จาก[[การหมุน]]ของโลก [[บริเวณความกดอากาศต่ำ]]ที่กำเนิดในซีกโลกเหนือ เช่น [[เฮอร์ริเคน]]หรือ[[ไต้ฝุ่น]] จะปรากฏการหมุนของพายุในทิศทวนเข็มนาฬิกาเสมอ


ซีกเหนือของ[[ดาวเคราะห์]]ดวงอื่นใน[[ระบบสุริยะ]]สามารถนิยามได้จาก บริเวณของดาวที่มี[[ทรงกลมฟ้า|ซีกฟ้า]]เดียวกับขั้วโลกเหนือเมื่อเทียบกับ[[ระนาบไม่แปรผัน]]ของระบบสุริยะ<ref>[http://aa.usno.navy.mil/publications/reports/Archinaletal2011a.pdf Report of the IAU Working Group on cartographic coordinates and rotational elements: 2009], 23 ตุลาคม 2010</ref>
ซีกเหนือของ[[ดาวเคราะห์]]ดวงอื่นใน[[ระบบสุริยะ]]สามารถนิยามได้จาก บริเวณของดาวที่มี[[ทรงกลมฟ้า|ซีกฟ้า]]เดียวกับขั้วโลกเหนือเมื่อเทียบกับ[[ระนาบไม่แปรผัน]]ของระบบ<ref>[http://aa.usno.navy.mil/publications/reports/Archinaletal2011a.pdf Report of the IAU Working Group on cartographic coordinates and rotational elements: 2009], 23 ตุลาคม 2010</ref>


== พื้นที่ที่ตั้งอยู่บนซีกโลกเหนือ ==
== พื้นที่ที่ตั้งอยู่บนซีกโลกเหนือ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:26, 11 กรกฎาคม 2563

แผนที่ทางภูมิศาสตร์ของซีกโลกเหนือ

ซีกเป็นพี่ของเอเลน ชื่อโยชิคาเงะ คิระ

ซีกโลกเหนือประกอบด้วยพื้นน้ำมากกว่าแผ่นดินอย่างชัดเจน แต่ก็ยังปกคลุมด้วยแผ่นดินมากกว่าซีกโลกใต้ ซีกโลกเหนือประกอบด้วยแผ่นดิน 39 % และพื้นน้ำ 61 %[1] ประชากรราว 90 % ของโลกอาศัยอยู่ในซีกโลกเหนือ[2] แผ่นดินส่วนใหญ่เป็นทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย ซึ่งเป็นทวีปที่ใหญ่ที่สุดในโลก ทวีปอเมริกาเหนือ และส่วนใหญ่ของทวีปแอฟริกา นอกจากนี้ยังมีบางส่วนของทวีปอเมริกาใต้ กรีนแลนด์ เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก มหาสมุทรที่มีพื้นที่อยู่ในซีกโลกเหนือได้แก่มหาสมุทรอาร์กติก มหาสมุทรแปซิฟิกและแอตแลนติกราวครึ่งหนึ่ง และมหาสมุทรอินเดียบางส่วน

จุดศูนย์กลางของซีกโลกเหนือคือขั้วโลกเหนือ ซึ่งเป็นจุดตัดทิศเหนือระหว่างขั้วโลกกับพื้นผิวของโลก ส่วนขั้วแม่เหล็กเหนือจะแปรผันไปเหนือเส้นอาร์กติกเซอร์เคิล ออโรราที่เกิดขึ้นในซีกโลกเหนือเรียกว่า aurora borealis หรือ แสงเหนือ ในภาษาไทย

เนื่องจากแรงคอริออลิสจากการหมุนของโลก บริเวณความกดอากาศต่ำที่กำเนิดในซีกโลกเหนือ เช่น เฮอร์ริเคนหรือไต้ฝุ่น จะปรากฏการหมุนของพายุในทิศทวนเข็มนาฬิกาเสมอ

ซีกเหนือของดาวเคราะห์ดวงอื่นในระบบสุริยะสามารถนิยามได้จาก บริเวณของดาวที่มีซีกฟ้าเดียวกับขั้วโลกเหนือเมื่อเทียบกับระนาบไม่แปรผันของระบบ[3]

พื้นที่ที่ตั้งอยู่บนซีกโลกเหนือ

อ้างอิง

  1. Peter Hupfer, Wilhelm Kuttler, Ernst Heyer, Frank-Michael Chmielewski: Witterung und Klima: eine Einführung in die Meteorologie und Klimatologie. Vieweg+Teubner Verlag, 2006, ISBN 3835100963, หน้า 13 (เยอรมัน)
  2. , Ogden, Philip E. "Density and Distribution of Population." [1] Encyclopedia of Population. Vol. 1., 2003. หน้า 221-226.
  3. Report of the IAU Working Group on cartographic coordinates and rotational elements: 2009, 23 ตุลาคม 2010

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ซีกโลกเหนือ