ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทีเกอร์ 1"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
good
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
ยานเกราะนี้ถูกตั้งชื่อเล่นโดย Ferdinand Porche และตัวเลขโรมันได้ถูกเพิ่มเติมหลังจากที่ยานเกราะ[[ทีเกอร์ 2]] ได้ถูกนำมาผลิต โดยแท้จริงแล้ว ยานเกราะชนิดนี้มีชื่ออย่างเป็นทางการ คือ Panzerkampfwagen VI Ausführung H (ยานเกราะ Panzer VI รุ่น H หรือมีชื่อย่อว่า PzKpfw VI Ausf. H) แต่อย่างไรก็ตาม ยานเกราะนี้ได้ถูกนำมาออกแบบใหม่อีกครั้งเป็น PzKpfw VI Ausf. E ในเดือน มีนาคม 1943 และมีลักษณะการออกแบบปืนใหญ่ของ SdKfz 181 เช่นเดียวกัน.
ยานเกราะนี้ถูกตั้งชื่อเล่นโดย Ferdinand Porche และตัวเลขโรมันได้ถูกเพิ่มเติมหลังจากที่ยานเกราะ[[ทีเกอร์ 2]] ได้ถูกนำมาผลิต โดยแท้จริงแล้ว ยานเกราะชนิดนี้มีชื่ออย่างเป็นทางการ คือ Panzerkampfwagen VI Ausführung H (ยานเกราะ Panzer VI รุ่น H หรือมีชื่อย่อว่า PzKpfw VI Ausf. H) แต่อย่างไรก็ตาม ยานเกราะนี้ได้ถูกนำมาออกแบบใหม่อีกครั้งเป็น PzKpfw VI Ausf. E ในเดือน มีนาคม 1943 และมีลักษณะการออกแบบปืนใหญ่ของ SdKfz 181 เช่นเดียวกัน.


ในปัจจุบันนี้ มีทีเกอร์1 ไม่กี่คันเท่านั้นที่ยังคงเหลืออยู่ให้โดยถูกนำมาแสดงในพิพิธภัณฑ์และงานแสดงทั่วโลก ตัวอย่างของยานเกราะที่ยังคงมีสภาพสมบูรณ์ที่สุด คือ พิพิธภัณฑ์ยานเกราะ Bovington [[รถถังทีเกอร์ 131|ทีเกอร์ 131]] ซึ่งเป็นยานเกราะคันเดียวที่ยังคงสามารถใช้ได้อยู่ในปัจจุบันนี้
ในปัจจุบันนี้ มีทีเกอร์1 ไม่กี่คันเท่านั้นที่ยังคงเหลืออยู่ให้โดยถูกนำมาแสดงในพิพิธภัณฑ์และงานแสดงทั่วโลก ตัวอย่างของยานเกราะที่ยังคงมีสภาพสมบูรณ์ที่สุด คือ พิพิธภัณฑ์ยานเกราะ Bovington [[รถถังทีเกอร์ 131|ทีเกอร์ 131]] ซึ่งเป็นยานเกราะคันเดียวที่ยังคงสามารถใช้ได้อยู่ในปัจจุบันนี้สุดยอดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดด


== การออกแบบ ==
== การออกแบบ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:04, 1 ธันวาคม 2561

รถถังทีเกอร์1 ในฝรั่งเศส ค.ศ. 1944

ทีเกอร์1 เป็นยานเกราะขนาดหนักที่ถูกใช้ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยถูกสร้างในช่วงปลายปี ค.ศ. 1942 เพื่อที่จะใช้ตอบโต้ความแข็งแกร่งยานเกราะที-34 และรถถังคลีเมนต์ โวโรชีลอฟ ของ สหภาพโซเวียต ในช่วงเริ่มต้นของ ปฏิบัติการบาร์บารอสซา ลักษณะการออกแบบของทีเกอร์1 ทำให้ทีเกอร์1 เป็นยานเกราะของเวร์มัคท์ คันแรกที่ติดปากกระบอกปืนขนาด 88 มิลลิเมตร โดยปากกระบอกปืนนี้ได้ถูกทดสอบมาก่อนว่ามีประสิทธิภาพสูงในการยิงต่อต้าน รถถัง และ เครื่องบิน ในช่วงระหว่างสงคราม ทีเกอร์ 1 ได้ถูกนำไปใช้ในในการรบแนวหน้าของเยอรมัน โดยปกติแล้วทีเกอร์1 ถูกนำมาแยกเป็นหน่วยยานเกราะอิสระ ซึ่งทำให้หน่วยทีเกอร์1 สามารถปฏิบัติการได้อย่างค่อนข้างมีประสิทธิภาพ

แม้ว่าทีเกอร์1 เป็นที่น่าเกรงขามต่อศัตรูเป็นอย่างมากก็ตาม ทว่า ในขณะเดียวกัน ทีเกอร์1 เป็นยานเกราะที่มีลักษณะซับซ้อนในการสร้าง ต้นทุนสูง และใช้เวลาในการผลิตยาวนานอีกทั้งทีเกอร์1 มักจะประสบปัญหาเครื่องจักรกลล่มบ่อยครั้งจึงทำให้ยานเกราะชนิดนี้ถูกยกเลิกการผลิตไป มีเพียงจำนวน 1347 คันเท่านั้นที่ถูกผลิตขึ้นมา ในช่วงระยะเวลา สิงหาคม ค.ศ. 1942 ถึง สิงหาคม ค.ศ. 1944 และทีเกอร์1I ได้ถูกผลิตขึ้นมาแทนที่

ยานเกราะนี้ถูกตั้งชื่อเล่นโดย Ferdinand Porche และตัวเลขโรมันได้ถูกเพิ่มเติมหลังจากที่ยานเกราะทีเกอร์ 2 ได้ถูกนำมาผลิต โดยแท้จริงแล้ว ยานเกราะชนิดนี้มีชื่ออย่างเป็นทางการ คือ Panzerkampfwagen VI Ausführung H (ยานเกราะ Panzer VI รุ่น H หรือมีชื่อย่อว่า PzKpfw VI Ausf. H) แต่อย่างไรก็ตาม ยานเกราะนี้ได้ถูกนำมาออกแบบใหม่อีกครั้งเป็น PzKpfw VI Ausf. E ในเดือน มีนาคม 1943 และมีลักษณะการออกแบบปืนใหญ่ของ SdKfz 181 เช่นเดียวกัน.

ในปัจจุบันนี้ มีทีเกอร์1 ไม่กี่คันเท่านั้นที่ยังคงเหลืออยู่ให้โดยถูกนำมาแสดงในพิพิธภัณฑ์และงานแสดงทั่วโลก ตัวอย่างของยานเกราะที่ยังคงมีสภาพสมบูรณ์ที่สุด คือ พิพิธภัณฑ์ยานเกราะ Bovington ทีเกอร์ 131 ซึ่งเป็นยานเกราะคันเดียวที่ยังคงสามารถใช้ได้อยู่ในปัจจุบันนี้สุดยอดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดดด

การออกแบบ

ยานเกราะทีเกอร์มีลักษณะแนวคิดการออกแบบที่แตกต่างจากรถยานเกราะรุ่นแรกๆทั่วไปของเยอรมัน โดยรถยานเกราะของเยอรมันในรุ่นเริ่มต้นมีความสมดุลในการขับเคลื่อน เกราะป้องกันและการทำลายล้าง จึงทำให้บางครั้งพ่ายแพ้ต่อรถยานเกราะของฝ่ายศัตรูเพราะเป็นรถถังที่ไม่มีจุดเด่นเลย

ยานเกราะทีเกอร์1เป็นตัวอย่างที่แสดงเห็นถึงแนวคิดการออกแบบแบบใหม่ที่เน้นไปในด้านการทำลายล้างและเกราะป้องกันโดยแลกกับความสามารถในการขับเคลื่อน แนวคิดการออกแบบสำหรับยานเกราะขนาดหนักได้เริ่มต้นในปี 1937 โดยที่ยังไม่มีแผนงานในด้านการผลิต ความสามารถในการเจาะเกราะของทีเกอร์มีแนวคิดมาจากประสิทธิภาพยานเกราะของโซเวียตรุ่น T-34 ซึ่งเป็นยานเกราะหลักของโซเวียตในการต่อต้านเยอรมันในปี 1941 ถึงแม้ว่าลักษณะการออกแบบภายนอกมีลักษณะเหมือนยานเกราะขนาดกลางรุ่น Panzer IV ทว่า ทีเกอร์มีน้ำหนักมากกว่ายานเกราะขนาดกลางนี้ถึงสองเท่าตัว เพราะทีเกอร์มีเกราะป้องกันที่หนากว่ามาก ปืนที่ใหญ่กว่า น้ำหนักของน้ำมัน ความสามารถในการพกพาจำนวนกระสุนปืน น้ำหนักของเครื่องยนต์ และลักษณะที่ถูกสร้างให้หนาแน่นกว่า

ข้อมูลรถถัง

  • ประเทศผู้ผลิต  ไรช์เยอรมัน
  • ปีที่ใช้งาน ค.ศ. 1942-1945
  • พลประจำรถ 5 นาย
  • หนัก 56,900 กิโลกรัม (56 ตัน)
  • ยาว 8.45 เมตร (รวมกระบอกปืนใหญ่)
  • สูง 3 เมตร
  • กว้าง 3.56 เมตร
  • เกราะหนาที่สุด 100 มม. (3.937 นิ้ว)
  • เครื่องยนต์
    • มายบัค เอชแอล 210 พี 45 วี 12 ให้กำลัง 650 แรงม้า ใช้ในทีเกอร์1 รุ่น H
    • มายบัค เอชแอล 230 พี 45 วี 12 ให้กำลัง 690.4 แรงม้า ใช้ในทีเกอร์1 รุ่น E
  • ความเร็ว 38 กิโลเมตร/ชั่วโมง
  • รัศมีทำการ 110-195 กิโลเมตร
  • อาวุธ
    • อาวุธหลัก ปืนใหญ่ ขนาด 88 มม.
    • อาวุธรอง ปืนกล ขนาด 7.92 มม. (0.31 นิ้ว) 2-3 กระบอก

อ้างอิง