ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อัน เต๋อไห่"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12: บรรทัด 12:
{{cite book|last = Rawski|first = Evelyn S.|title = Last Emperors: A Social History of Qing Imperial Institutions|publisher = University of California Press|date = February 5, 2001|pages = 466|url = https://books.google.com/books?ei=YH7nUPLZC9Ph0AHusYG4Dg|isbn = 0520228375}}</ref><ref name=haw2006>{{cite book|last = Haw|first = Stephen G.|title = Beijing: A Concise History|publisher = Routledge|series = Routledge Studies in the Modern History of Asia|date = November 30, 2006|location = |pages = 224|isbn = 0415399068}}</ref>
{{cite book|last = Rawski|first = Evelyn S.|title = Last Emperors: A Social History of Qing Imperial Institutions|publisher = University of California Press|date = February 5, 2001|pages = 466|url = https://books.google.com/books?ei=YH7nUPLZC9Ph0AHusYG4Dg|isbn = 0520228375}}</ref><ref name=haw2006>{{cite book|last = Haw|first = Stephen G.|title = Beijing: A Concise History|publisher = Routledge|series = Routledge Studies in the Modern History of Asia|date = November 30, 2006|location = |pages = 224|isbn = 0415399068}}</ref>


ใน ค.ศ. 1869 พระพันปีฉือสี่ส่งอัน เต๋อไห่ ไปโรงทอไหมที่[[หนานจิง]] (南京)<ref name=rawski2001/> อัน เต๋อไห่ เดินทางไปโดยขบวนเรืออลังการผ่าน[[คลองใหญ่ (ประเทศจีน)|คลองใหญ่]] (大運河) เพื่ออวดอ้างพระบารมี<ref name=rawski2001/> ซึ่งขัดต่อกฎมนเทียรบาลที่ห้ามขันทีออกจากพระราชวังโดยมิได้รับอนุญาต มิฉะนั้น มีโทษประหาร ทั้งนี้ เพื่อป้องกันขันทีมีอำนาจมากเกินควร<ref name=haw2006/> ครั้นอัน เต๋อไห่ และคณะ ไปถึง[[มณฑลชานตง]] (山东省) [[ติง เป่าเจิน]] (丁寶楨) ผู้ว่าการมณฑล รายงานพฤติกรรมของเขากลับไปยังราชสำนัก<ref name=rawski2001/><ref name=haw2006/> [[กรมความลับทหาร]] (軍機處) ซึ่งมีกงชินหวังเป็นเจ้ากรม ลงความเห็นให้ประหารอัน เต๋อไห่ ตามกฎ<ref name=haw2006/> [[พระพันปีฉืออัน]] (慈安太后) ซึ่งสำเร็จราชการแผ่นดินร่วมกันพระพันปีฉือสี่ เห็นชอบกับกรมความลับทหาร ส่วนพระพันปีฉือสี่เองมิได้ทรงก้าวก่ายในเรื่องนี้<ref name=haw2006/> มีผู้เล่าว่า ที่พระพันปีฉือสี่มิทรงก้าวก่าย ที่จริงมิทันก้าวก่ายมากกว่า เพราะกำลังทอดพระเนตรงิ้ว และมีรับสั่งห้ามผู้ใดรบกวน<ref name=haw2006/> แต่ไม่ว่าจะเป็นประการใด ที่สุดแล้วอัน เต๋อไห่ และขันทีติดตามอีกหกคน ก็ถูกตัดศีรษะตามกฎ<ref name=rawski2001/> การประหารดังกล่าวเกิดขึ้นช่วงฤดูใบไม้ผลิ ณ [[วัดกวันตี้]] (关帝庙) เมือง[[จี่หนาน]] (济南) ส่วนคนที่เหลือในคณะของอัน เต๋อไห่ ถูกปลดเป็นทาส และเนรเทศไป[[มณฑลเฮย์หลงเจียง]] (黑龍江省) ชายแดนด้านตะวันออกเฉียงเหนือของจักรวรรดิชิง<ref name=rawski2001/> การฆ่าอัน เต๋อไห่ นี้ มองกันว่า เป็นส่วนหนึ่งของการช่วงชิงอำนาจในราชสำนักระหว่างพระพันปีฉือสี่และกงชินหวัง<ref name=haw2006/>
ใน ค.ศ. 1869 พระพันปีฉือสี่ส่งอัน เต๋อไห่ ไปโรงทอไหมที่[[หนานจิง]] (南京)<ref name=rawski2001/> อัน เต๋อไห่ เดินทางไปโดยขบวนเรืออลัlllllllllllllllhklhljhljllllllljlllllllllllllllllllllllllllllllllllllllllllllllllllllllllllงการผ่าน[[คลองใหญ่ (ประเทศจีน)|คลองใหญ่]] (大運河) เพื่ออวดอ้างพระบารมี<ref name=rawski2001/> ซึ่งขัดต่อกฎมนเทียรบาลที่ห้ามขันทีออกจากพระราชวังโดยมิได้รับอนุญาต มิฉะนั้น มีโทษประหาร ทั้งนี้ เพื่อป้องกันขันทีมีอำนาจมากเกินควร<ref name=haw2006/> ครั้นอัน เต๋อไห่ และคณะ ไปถึง[[มณฑลชานตง]] (山东省) [[ติง เป่าเจิน]] (丁寶楨) ผู้ว่าการมณฑล รายงานพฤติกรรมของเขากลับไปยังราชสำนัก<ref name=rawski2001/><ref name=haw2006/> [[กรมความลับทหาร]] (軍機處) ซึ่งมีกงชินหวังเป็นเจ้ากรม ลงความเห็นให้ประหารอัน เต๋อไห่ ตามกฎ<ref name=haw2006/> [[พระพันปีฉืออัน]] (慈安太后) ซึ่งสำเร็จราชการแผ่นดินร่วมกันพระพันปีฉือสี่ เห็นชอบกับกรมความลับทหาร ส่วนพระพันปีฉือสี่เองมิได้ทรงก้าวก่ายในเรื่องนี้<ref name=haw2006/> มีผู้เล่าว่า ที่พระพันปีฉือสี่มิทรงก้าวก่าย ที่จริงมิทันก้าวก่ายมากกว่า เพราะกำลังทอดพระเนตรงิ้ว และมีรับสั่งห้ามผู้ใดรบกวน<ref name=haw2006/> แต่ไม่ว่าจะเป็นประการใด ที่สุดแล้วอัน เต๋อไห่ และขันทีติดตามอีกหกคน ก็ถูกตัดศีรษะตามกฎ<ref name=rawski2001/> การประหารดังกล่าวเกิดขึ้นช่วงฤดูใบไม้ผลิ ณ [[วัดกวันตี้]] (关帝庙) เมือง[[จี่หนาน]] (济南) ส่วนคนที่เหลือในคณะของอัน เต๋อไห่ ถูกปลดเป็นทาส และเนรเทศไป[[มณฑลเฮย์หลงเจียง]] (黑龍江省) ชายแดนด้านตะวันออกmmmmmmmmmmmmmmmmmเฉียงเหนือของจักรวรรดิชิง<ref name=rawski2001/> การฆ่าอัน เต๋อไห่ นี้ มองกันว่า เป็นส่วนหนึ่งของการช่วงชิงอำนาจในราชสำนักระหว่างพระพันปีฉือสี่และกงชินหวัง<ref name=haw2006/>,,,,,,,,,,,,,,,,lllllllllllllllllllllllllllllllllllllllllll


==ดูเพิ่ม==
==ดูเพิ่ม==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:40, 11 สิงหาคม 2561

อัน เต๋อไห่
ภาพถ่ายของอัน เต๋อไห่ ไม่ทราบวันเวลาถ่าย
เกิดค.ศ. 1844
เสียชีวิต12 กันยายน ค.ศ. 1869 (อายุ 24–25 ปี)
จี่หนาน ชานตง
อาชีพขันทีราชสำนัก
มีชื่อเสียงจากคนสนิทของพระพันปีฉือสี่

อัน เต๋อไห่ (จีน: 安德海; พินอิน: Ān Déhǎi; ค.ศ. 1844 – 12 กันยายน ค.ศ. 1869) เป็นขันทีซึ่งรับราชการในวังสมัยราชวงศ์ชิงของประเทศจีน เป็นคนสนิทของพระพันปีฉือสี่ (慈禧太后) ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1860 และถูกประหารชีวิตในการช่วงชิงอำนาจระหว่างพระพันปีฉือสี่กับกงชินหวัง (恭親王)[1][2]

ใน ค.ศ. 1869 พระพันปีฉือสี่ส่งอัน เต๋อไห่ ไปโรงทอไหมที่หนานจิง (南京)[1] อัน เต๋อไห่ เดินทางไปโดยขบวนเรืออลัlllllllllllllllhklhljhljllllllljlllllllllllllllllllllllllllllllllllllllllllllllllllllllllllงการผ่านคลองใหญ่ (大運河) เพื่ออวดอ้างพระบารมี[1] ซึ่งขัดต่อกฎมนเทียรบาลที่ห้ามขันทีออกจากพระราชวังโดยมิได้รับอนุญาต มิฉะนั้น มีโทษประหาร ทั้งนี้ เพื่อป้องกันขันทีมีอำนาจมากเกินควร[2] ครั้นอัน เต๋อไห่ และคณะ ไปถึงมณฑลชานตง (山东省) ติง เป่าเจิน (丁寶楨) ผู้ว่าการมณฑล รายงานพฤติกรรมของเขากลับไปยังราชสำนัก[1][2] กรมความลับทหาร (軍機處) ซึ่งมีกงชินหวังเป็นเจ้ากรม ลงความเห็นให้ประหารอัน เต๋อไห่ ตามกฎ[2] พระพันปีฉืออัน (慈安太后) ซึ่งสำเร็จราชการแผ่นดินร่วมกันพระพันปีฉือสี่ เห็นชอบกับกรมความลับทหาร ส่วนพระพันปีฉือสี่เองมิได้ทรงก้าวก่ายในเรื่องนี้[2] มีผู้เล่าว่า ที่พระพันปีฉือสี่มิทรงก้าวก่าย ที่จริงมิทันก้าวก่ายมากกว่า เพราะกำลังทอดพระเนตรงิ้ว และมีรับสั่งห้ามผู้ใดรบกวน[2] แต่ไม่ว่าจะเป็นประการใด ที่สุดแล้วอัน เต๋อไห่ และขันทีติดตามอีกหกคน ก็ถูกตัดศีรษะตามกฎ[1] การประหารดังกล่าวเกิดขึ้นช่วงฤดูใบไม้ผลิ ณ วัดกวันตี้ (关帝庙) เมืองจี่หนาน (济南) ส่วนคนที่เหลือในคณะของอัน เต๋อไห่ ถูกปลดเป็นทาส และเนรเทศไปมณฑลเฮย์หลงเจียง (黑龍江省) ชายแดนด้านตะวันออกmmmmmmmmmmmmmmmmmเฉียงเหนือของจักรวรรดิชิง[1] การฆ่าอัน เต๋อไห่ นี้ มองกันว่า เป็นส่วนหนึ่งของการช่วงชิงอำนาจในราชสำนักระหว่างพระพันปีฉือสี่และกงชินหวัง[2],,,,,,,,,,,,,,,,lllllllllllllllllllllllllllllllllllllllllll

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 Rawski, Evelyn S. (February 5, 2001). Last Emperors: A Social History of Qing Imperial Institutions. University of California Press. p. 466. ISBN 0520228375.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 Haw, Stephen G. (November 30, 2006). Beijing: A Concise History. Routledge Studies in the Modern History of Asia. Routledge. p. 224. ISBN 0415399068.