ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทฤษฎีสัมพัทธภาพ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 61.7.241.235 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย 49.49.158.14
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:spacetime curvature.png|thumb|300px|การฉาย[[ปริภูมิสองมิติ|สองมิติ]]ของแนวเทียบ[[ปริภูมิสามมิติ|สามมิติ]]ของความโค้งปริภูมิ-เวลาที่อธิบายในสัมพัทธภาพทั่วไป]]
'''ทฤษฎีสัมพัทธภาพ''' ครอบคลุมสองทฤษฎีของ[[อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์]]คือ [[ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ]]และ[[ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป]] มโนทัศน์ที่ทฤษฎีสัมพัทธภาพริเริ่มมี[[ปริภูมิ-เวลา]]ซึ่งเป็นเอนทิตีรวม (unified entity) ของ[[ปริภูมิ]]และ[[เวลา]] สัมพัทธภาพของความเป็นเวลาเดียวกัน (relativity of simultaneity) การเปลี่ยนขนาดของเวลาทางจลนศาสตร์และความโน้มถ่วง (kinematic and gravitational time dilation) และการหดตัวของความยาว (length contraction)

ทฤษฎีสัมพัทธภาพเปลี่ยนแปลง[[ฟิสิกส์ทฤษฎี]]และ[[ดาราศาสตร์]]ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมื่อพิมพ์ครั้งแรก สัมพัทธภาพเข้าแทนที่[[กลศาสตร์ดั้งเดิม|ทฤษฎีกลศาสตร์]]อายุ 200 ปีที่[[ไอแซก นิวตัน]]เป็นผู้ประดิษฐ์หลัก ในสาขาฟิสิกส์ สัมพัทธภาพพัฒนาวิทยาศาสตร์ของอนุภาคมูลฐานและอันตรกิริยามูลฐานของพวกมัน ร่วมกับการก้าวสู่ยุคนิวเคลียร์ ด้วยสัมพัทธภาพ จักรวาลวิทยาและฟิสิกส์ดาราศาสตร์ทำนายปรากฏการณ์ดาราศาสตร์พิเศษอย่าง[[ดาวนิวตรอน]] [[หลุมดำ]]และ[[คลื่นความโน้มถ่วง]]<ref name=relativity>{{Cite encyclopedia
|title=Relativity
|encyclopedia=Grolier Multimedia Encyclopedia
|last=Will, Clifford M
|date=August 1, 2010
|url=http://gme.grolier.com/article?assetid=0244990-0
|accessdate=2010-08-01}}</ref><ref name=spacetime>{{Cite encyclopedia
|title=Space-Time Continuum
|encyclopedia=Grolier Multimedia Encyclopedia
|last=Will, Clifford M
|date=August 1, 2010
|url=http://gme.grolier.com/article?assetid=0272730-0
|accessdate=2010-08-01}}</ref><ref name=fitz-loren>{{Cite encyclopedia
|title=Fitzgerald–Lorentz contraction
|encyclopedia=Grolier Multimedia Encyclopedia
|last=Will, Clifford M
|date=August 1, 2010
|url=http://gme.grolier.com/article?assetid=0107090-0
|accessdate=2010-08-01}}</ref>

ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษและทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปเชื่อมโยงกัน ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษใช้กับปรากฏการณ์กายภาพทั้งหมดยกเว้น[[ความโน้มถ่วง]] ทฤษฎีทั่วไปให้กฎความโน้มถ่วง และความสัมพันธ์กับแรงอื่นของธรรมชาติ<ref name=londontimes>{{Cite news
|last=Einstein
|first=Albert
|title=[[s:Time, Space, and Gravitation|Time, Space, and Gravitation]]
|newspaper=[[The Times]]
|date=November 28, 1919}}</ref>

== สัมพัทธภาพพิเศษ ==
== สัมพัทธภาพพิเศษ ==
{{บทความหลัก|ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ}}
{{บทความหลัก|ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:08, 10 มิถุนายน 2561

สัมพัทธภาพพิเศษ

ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ ได้รับการแนะนำเป็นครั้งแรก ในผลงานวิจัยของไอน์สไตน์เมื่อปี พ.ศ. 2448 (ค.ศ. 1905) เรื่อง "พลศาสตร์ทางไฟฟ้าของวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่" (On the Electrodynamics of Moving Bodies) ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ แสดงให้เห็นว่าผู้สังเกตที่อยู่ในกรอบอ้างอิงเฉื่อยที่กำลังเคลื่อนที่สัมพัทธ์กันด้วยอัตราเร็วคงที่นั้น จะไม่สามารถทำการทดลองใดๆ เพื่อหาว่าผู้สังเกตคนใดมี "การเคลื่อนที่สัมบูรณ์" ทฤษฎีนี้มีสมมุติฐานดังนี้

  1. อัตราเร็วแสงในสุญญากาศนั้นจะมีค่าเท่ากันสำหรับผู้สังเกตทุกคน
  2. กฎทางฟิสิกส์ไม่แปรเปลี่ยนภายใต้การแปลงกรอบอ้างอิงเฉื่อย

จากทฤษฎีนี้ ไอน์สไตน์ค้นพบผลลัพธ์ที่น่าสนใจหลายอย่างในกรณีการเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วใกล้อัตราเร็วแสง ซึ่งขัดกับสามัญสำนึกของมนุษย์ทั่วไป

สัมพัทธภาพทั่วไป

ไอน์สไตน์ตีพิมพ์ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป ในปี พ.ศ. 2459 (ค.ศ. 1916) (นำเสนอเป็นปาฐกถาในสถาบันวิทยาศาสตร์รัสเซียเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458) อย่างไรก็ตาม เดวิด ฮิลเบิร์ต นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน เคยเขียนและนำเสนอสมการคล้ายคลึงกันก่อนหน้าไอน์สไตน์ แต่ไม่ได้หมายความว่าเป็นการคัดลอกกันแต่อย่างใด กล่าวได้ว่าทั้งสองต่างเป็นผู้ให้กำเนิดทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปร่วมกัน

ทฤษฎีนี้กล่าวถึงสมการหนึ่งที่มาแทนที่กฎแรงโน้มถ่วงของนิวตัน ใช้เรขาคณิตเชิงอนุพันธ์และเทนเซอร์ในการอธิบายความโน้มถ่วง แสดงให้เห็นว่าผู้สังเกตทุกคนเหมือนกันไม่ว่าจะเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงที่หรือไม่ กฎของทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปเหมือนกันสำหรับผู้สังเกตทุกคน แม้ว่าผู้สังเกตแต่ละคนเคลื่อนที่ด้วยความเร่งเมื่อเทียบกับผู้สังเกตคนอื่น ในทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป ความโน้มถ่วงไม่ได้เป็นแรง (อย่างในกฎความโน้มถ่วงของนิวตัน) อีกต่อไป แต่เป็นผลจากการโค้งของปริภูมิ-เวลา (spacetime หรืออาจแปลว่าปริภูมิก็ได้) ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปเป็นทฤษฎีเชิงเรขาคณิตที่ถือหลักว่ามวลและพลังงานทำให้เกิดการโค้งงอของปริภูมิ-เวลา และการโค้งนี้ส่งผลต่อเส้นทางการเคลื่อนที่ของอนุภาคอิสระรวมทั้งแสง

อ้างอิง

หนังสืออ่านเพิ่ม

  • Bergmann, Peter G. (1976). Introduction to the Theory of Relativity. Dover Publications. ISBN 0-486-63282-2.

แหล่งข้อมูลอื่น