ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถังบำบัดน้ำเสีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
PremierProducts (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มหลักการทำงานของถังบำบัดน้ำเสีย
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
'''ถังบำบัดน้ำเสีย''' เป็นวิธี[[การบำบัดน้ำเสีย]]สำหรับครัวเรือน การใช้งานถังบำบัดน้ำเสียนั้น จะถูกนำมาใช้กับชุมชนในเมืองที่ไม่มีระบบบำบัดน้ำเสียให้บริการจากทางหน่วยงานที่รับผิดชอบ บ้านเรือนในเมืองไทยส่วนใหญ่จะใช้ถังบำบัดน้ำเสียในการบำบัดน้ำ ในขณะที่ในสหรัฐอเมริกาจะมีการใช้ระบบบำบัดจากรัฐบาลประมาณร้อยละ 75 ส่วนร้อยละ 25 ที่เหลือเป็นชุมชนที่อยู่ห่างไกลจะใช้ถังบำบัดน้ำเสีย<ref>{{cite web
'''ถังบำบัดน้ำเสีย''' เป็นวิธี[[การบำบัดน้ำเสีย]]สำหรับครัวเรือน การใช้งานถังบำบัดน้ำเสียนั้น จะถูกนำมาใช้กับชุมชนในเมืองที่ไม่มีระบบบำบัดน้ำเสียให้บริการจากทางหน่วยงานที่รับผิดชอบ บ้านเรือนในเมืองไทยส่วนใหญ่จะใช้ถังบำบัดน้ำเสียในการบำบัดน้ำ ในขณะที่ในสหรัฐอเมริกาจะมีการใช้ระบบบำบัดจากรัฐบาลประมาณร้อยละ 75 ส่วนร้อยละ 25 ที่เหลือเป็นชุมชนที่อยู่ห่างไกลจะใช้ถังบำบัดน้ำเสีย<ref>{{cite web
| url = http://www.citizensenergygroup.com/STEP
| url = http://www.citizensenergygroup.com/STEP
| title = Septic Tank Elimination Program
| title = Septic Tank Elimination Program
| publisher = Citizens Energy Group
| publisher = Pre
| accessdate = 2016-02-16
| accessdate = 2016-02-16
}}</ref> ประเทศในทวีปยุโรปจะจำกัดให้ใช้เฉพาะในชนบทที่ห่างไกลเท่านั้น เนื่องจากไม่มีพื้นที่สำหรับการ[[ทุ่งบำบัดน้ำเสีย]]
}}</ref> ประเทศในทวีปยุโรปจะจำกัดให้ใช้เฉพาะในชนบทที่ห่างไกลเท่านั้น เนื่องจากไม่มีพื้นที่สำหรับการ[[ทุ่งบำบัดน้ำเสีย]]
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
; ถังบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ : มีการติดตั้งปั๊มเพื่อเติมอากาศ โดยจะมีราคาสูงกว่า แต่กลิ่นจะน้อยกว่า
; ถังบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ : มีการติดตั้งปั๊มเพื่อเติมอากาศ โดยจะมีราคาสูงกว่า แต่กลิ่นจะน้อยกว่า


; ถังบำบัดน้ำเสียแบบไม่เติมอากาศ : ไม่มีการเติมอากาศ มีราคาที่ต่ำกว่า
; ถังบำบัดน้ำเสียแบบไม่เติมอากาศ : ไม่มีการเติมอากาศ มีราคาที่ต่ำกว่า
; หลักการทำงานของถังบำบ้ดน้ำเสีย<ref>{{cite web

| url = http://www.premier-products.co.th/index.php?route=product/product&path=25_29_103&product_id=62
| title = Septic Tank
| publisher = Premier Products PLC.
| accessdate = 2017-02-20
}}</ref>
: ถังบำบัดน้ำเสีย ทำงานตามหลักวิศวกรรมสุขาภิบาลเป็นขบวนการบำบัดน้ำโสโครกแบบ ACTIVATED SLUDGE คือ การใช้ออกซิเจนเข้าไปเลี้ยงตะกอนแบคทีเรีย ให้ทำปฏิกิริยาทางชีวเคมีเปลี่ยนน้ำปฏิกูล ให้กลายเป็นน้ำดีดังสมการ
; Enzyme
;   COHNS + O2       ------------------------------------------------>         CO2 + H2O + NO2 = + SO4 = + etc. +Energy                                                           Bacteria
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:46, 20 กุมภาพันธ์ 2560

ภาพวาดแสดงภาพรวมของถังบำบัดน้ำเสีย โดยจะมีส่วนน้ำเข้า และน้ำออก และด้านบนจะเป็นฝาท่อและรูระบายอากาศ [1]

ถังบำบัดน้ำเสีย เป็นวิธีการบำบัดน้ำเสียสำหรับครัวเรือน การใช้งานถังบำบัดน้ำเสียนั้น จะถูกนำมาใช้กับชุมชนในเมืองที่ไม่มีระบบบำบัดน้ำเสียให้บริการจากทางหน่วยงานที่รับผิดชอบ บ้านเรือนในเมืองไทยส่วนใหญ่จะใช้ถังบำบัดน้ำเสียในการบำบัดน้ำ ในขณะที่ในสหรัฐอเมริกาจะมีการใช้ระบบบำบัดจากรัฐบาลประมาณร้อยละ 75 ส่วนร้อยละ 25 ที่เหลือเป็นชุมชนที่อยู่ห่างไกลจะใช้ถังบำบัดน้ำเสีย[2] ประเทศในทวีปยุโรปจะจำกัดให้ใช้เฉพาะในชนบทที่ห่างไกลเท่านั้น เนื่องจากไม่มีพื้นที่สำหรับการทุ่งบำบัดน้ำเสีย

ถังบำบัดน้ำเสียในเมืองไทย จะประกอบไปด้วยสองส่วนหลักคือ ถังเกรอะ และถังกรอง โดยถังเกรอะจะมีหน้าที่ในการให้สิ่งสกปรกตกตะกอนไว้ โดยถังสำเร็จรูปจะเป็นถังเดี่ยวแต่ด้านในมีแยกออกเป็นสองส่วน

ถังบำบัดน้ำเสียแบบเติมอากาศ
มีการติดตั้งปั๊มเพื่อเติมอากาศ โดยจะมีราคาสูงกว่า แต่กลิ่นจะน้อยกว่า
ถังบำบัดน้ำเสียแบบไม่เติมอากาศ
ไม่มีการเติมอากาศ มีราคาที่ต่ำกว่า
หลักการทำงานของถังบำบ้ดน้ำเสีย[3]
ถังบำบัดน้ำเสีย ทำงานตามหลักวิศวกรรมสุขาภิบาลเป็นขบวนการบำบัดน้ำโสโครกแบบ ACTIVATED SLUDGE คือ การใช้ออกซิเจนเข้าไปเลี้ยงตะกอนแบคทีเรีย ให้ทำปฏิกิริยาทางชีวเคมีเปลี่ยนน้ำปฏิกูล ให้กลายเป็นน้ำดีดังสมการ
Enzyme
  COHNS + O2       ------------------------------------------------>         CO2 + H2O + NO2 = + SO4 = + etc. +Energy                                                           Bacteria

อ้างอิง

  1. Tilley, Elizabeth; Ulrich, Lukas; Lüthi, Christoph; Reymond, Philippe; Zurbrügg, Chris. Compendium of Sanitation Systems and Technologies (2nd ed.). Duebendorf, Switzerland: Swiss Federal Institute of Aquatic Science and Technology (Eawag). ISBN 978-3-906484-57-0.
  2. "Septic Tank Elimination Program". Pre. สืบค้นเมื่อ 2016-02-16.
  3. "Septic Tank". Premier Products PLC. สืบค้นเมื่อ 2017-02-20.