ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มลพิษทางอากาศ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
คิม[[ไฟล์:AlfedPalmersmokestacks.jpg|thumb|upright=1.2|มลพิษทางอากาศจาก[[โรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์]]แห่งหนึ่ง]]
คิม208[[ไฟล์:AlfedPalmersmokestacks.jpg|thumb|upright=1.2|มลพิษทางอากาศจาก[[โรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์]]แห่งหนึ่ง]]
โอม208
'''มลพิษทางอากาศ''' คือการเกิด[[ฝุ่นละออง]] [[โมเลกุลชีวภาพ]] หรือวัตถุอันตรายชนิดอื่น ๆ ในชั้น[[บรรยากาศของโลก]] เป็นสาเหตุของโรค การเสียชีวิตในมนุษย์ และทำลายสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เช่น พืชพันธุ์ [[สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ]] หรือ[[สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง]]


บูม208
ชั้นบรรยากาศเป็นระบบแก๊สธรรมชาติที่ซับซ้อนที่จำเป็นต่อชีวิตบน[[โลก]] [[การลดลงของโอโซน]]ในชั้น[[สตราโทสเฟียร์]]เนื่องจากมลพิษทางอากาศถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสุขภาพของมนุษย์ รวมถึง[[ระบบนิเวศ]]ของโลกด้วย


เอิร์ท208
มลพิษทางอากาศภายในอาคาร และคุณภาพของอากาศในเมืองจัดเป็นปัญหามลพิษโลก 2 ปัญหาที่เลวร้ายที่สุด จากรายงานชื่อ สถานที่ที่ประสบมลพิษมากที่สุดในโลก (World's Worst Polluted Places)<ref>{{cite web|url=http://www.worstpolluted.org/ |title=Reports |publisher=WorstPolluted.org |date= |accessdate=2010-08-29| archiveurl= http://web.archive.org/web/20100811155338/http://www.worstpolluted.org/| archivedate= 11 August 2010 <!--DASHBot-->| deadurl= no}}</ref> ของ[[สถาบันแบล็กสมิธ]] (Blacksmith Institute) ในปี ค.ศ. 2008 ตามรายงานของ[[องค์การอนามัยโลก]] (WHO) ในปี ค.ศ. 2014 มลพิษทางอากาศคร่าชีวิตคนประมาณ 7 ล้านคนทั่วโลกในปี ค.ศ. 2012<ref name=WHO2014>{{cite web | url =http://www.who.int/mediacentre/news/releases/2014/air-pollution/en/| title =7 million premature deaths annually linked to air pollution |publisher =[[WHO]]|date=25 March 2014| accessdate =25 March 2014}}</ref>


== คิม ==
== คิม ==
เล็วมากๆ
สารมลพิษทางอากาศปฐมภูมิ เป็นสารมลพิษทางอากาศ ที่ถูกปล่อยออกมาจากแหล่งกำเนิดโดยตรง เช่น จากโรงงานอุตสาหกรรมมีผลกระทบโดยตรงและเป็น[[สารตั้งต้น]]ของสารมลพิษทางอากาศทุติยภูมิ <ref>http://www.learner.org/courses/envsci/unit/text.php?unit=11&secNum=3</ref>สารที่ทำให้เกิดมลพิษทางอากาศปฐมภูมิคือ Sulfur dioxide , Carbon monoxide , Nitrogen dioxide , ground-level ozone lead , carbon particles <ref>earth-www.larc.nasa.gov/ceresweb/IWG/glossary/a.html</ref>

สารมลพิษทางอากาศทุติยภูมิ เป็นมลพิษทางอากาศที่ไม่ได้เกิดหรือปล่อยออกมาโดยตรง ในอากาศ น้ำหรือดิน สารมลพิษเกิดกระบวนการสังเคราะห์ในสภาวะแวดล้อมโดยมี[[ปฏิกิริยาทางเคมี]]ที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีที่ปล่อยออกมา เช่น [[ก๊าซโอโซน]] ซึ่งเกิดจากปฏิกิริยาเคมี Photochemical Oxidation ระหว่างก๊าซออกไซด์ของ[[ไนโตรเจน]]กับ[[สารประกอบไฮโดรคาร์บอน]]ที่อยู่ใน[[บรรยากาศ]]โดยมีแสงแดดเป็น[[ตัวเร่งปฏิกิริยา]] เป็นต้น <ref>http://science.jrank.org/pages/6028/Secondary-Pollutants.html</ref>

=== คิม ===
; คิม
เป็นแหล่งที่เกิดมลพิษโดยธรรมชาติ ไม่ได้เกิดจากฝีมือมนุษย์ ซึ่งการเกิดมลพิษจากธรรมชาติมีผลกระทบน้อยมากตัวอย่างเช่น [[ไฟล์:การระเบิดของภูเขาไฟ.jpg|thumb|left|การระเบิดของภูเขาไฟก่อให้เกิด ควันและเถ้าถ่าน ในอากาศเป็นจำนวนมาก]]
* การระเบิดของภูเขาไฟ เกิดจากการที่[[แมกมา]]ใต้เปลือกโลกได้รับความร้อนจากแก่นโลกมากๆจนทำให้เกิดจากการยกตัวของแมกมาพุ่งออกมาตามรอยแยกของชั้น[[เปลือกโลก]]กลายเป็นลาวา ซึ่งการระเบิดของภูเขาไฟทำให้เกิดควันและเถ้าถ่านกระจายสู่อากาศเป็นจำนวนมาก<ref>http://www.vcharkarn.com/varticle/37243</ref>
* ไฟป่า สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ตามธรรมชาติ เกิดขึ้นในพื้นที่ป่าไม้ที่มีขึ้นอย่างหนาแน่นและมีสภาพแห้งจัด เช่น ฟ้าผ่า ประกายไฟจากหินถล่ม กิ่งไม้เสียดสีกัน
* การเน่าเปื่อย
* ฝุ่นละออง มีโดยทั่วไปพบได้ในทุกสถานที่ อาจจะมากหรือน้อยตามสถานที่นั้นๆ ฝุ่นละอองจะมีลักษณะเป็นอนุภาค[[ของแข็ง]]ขนาดเล็กที่ล่องลอยอยู่ใน[[อากาศ]] ซึ่งเกิดจากวัตถุที่ถูกทุบ ตี บด กระแทก จนแตกออกเป็นชิ้นส่วนเล็ก ๆ เมื่อถูกกระแสลมพัดก็จะปลิวกระจายตัวอยู่ในอากาศ และตกลงสู่พื้นในเวลาต่อมา ซึ่งเวลาในการตกจะช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับน้ำหนักของอนุภาค[[ฝุ่น]] แหล่งกำเนิดของฝุ่นจะแสดงถึงคุณสมบัติ[[ความเป็นพิษ]]ของฝุ่นด้วย เช่น [[แอสเบสตอส]] [[ตะกั่ว]] [[ไฮโดรคาร์บอน]] [[กัมมันตรังสี]] ฝุ่นละอองใน[[บรรยากาศ]] เป็นปัญหามลพิษทางอากาศที่สำคัญในเมืองใหญ่และเมืองที่กำลังพัฒนา จึงอาจนำไปสู่การส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนทั้งทางตรง และทางอ้อม<ref>https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi4/fun/fun.htm</ref>

; จากฝีมือมนุษย์
มนุษย์เป็นต้นเหตุที่ก่อให้เกิดปัญหามลพิษทางอากาศมากที่สุด เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของ[[ประชากรมนุษย์]]ส่งผลให้เกิดความต้องการบริโภค[[พลังงาน]] [[เชื้อเพลิง]] ทั้งในครัวเรือน ภาค[[อุตสาหกรรม]] และภาค[[เกษตรกรรม]] ที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพ[[ภูมิอากาศ]]ทั้งสิ้น สามารถแยกประเภทมลพิษที่เกิดจากฝีมือมนุษย์ได้ดังนี้<ref>วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2555 เรื่อง มลพิษทางอากาศในระดับภูมิภาคและการแพร่กระจายในระยะทางไกล: (1) ภูมิภาคเอเชียตะวันออก</ref>
* แหล่งกำเนิดที่เคลื่อนที่ได้ ได้แก่ [[รถยนต์]] [[เรือยนต์]] [[เครื่องบิน]] เป็นต้น ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ก๊าซออกไซด์ของ[[ไนโตรเจน]] [[สารประกอบไฮโดรคาร์บอน]] [[ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์]] รวมทั้งฝุ่นละอองขนาดเล็กและ [[สารตะกั่ว]] [[ไฟล์:ฝุ่นละอองในธรรมชาติ.jpg|thumb|center|ปัญหามลพิษทางอากาศที่เกิดจากยานพาหนะ]]
* แหล่งกำเนิดที่อยู่กับที่ ได้แก่ แหล่งกำเนิดที่เคลื่อนที่ไม่ได้แบ่งเป็น 2 พวก คือ
*# การเผาไหม้เชื้อเพลิง การเผาไหม้ของ[[เชื้อเพลิง]]ชนิดต่างๆจะก่อให้เกิด[[ก๊าซคาร์บอนมอนนอกไซด์]] [[ฝุ่นละออง]] ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ของไนโตรเจน และพบว่ามลพิษที่เกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงเหล่านี้เพื่มขึ้นอย่างเรื่อยๆทุกปี ได้แก่ การเผา[[ขยะมูลฝอย]]หรือ[[สิ่งปฏิกูล]] [[โรงผลิตไฟฟ้าพลังความร้อน]] โรงงานผลิตยางรถยนต์ เป็นต้น
*# กระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม กระบวนการผลิตต่างๆในโรงงานอุตสาหกรรมก่อให้เกิดก๊าซต่างๆขึ้นเช่น [[ก๊าชไฮโรเจนซัลไฟด์]]หรือ[[ก๊าซไข่เน่า]] [[กรดซัลฟูริก]]หรือ[[กรดกำมะถัน]] ได้แก่ การแปรรูปอาหาร [[การกลั่นน้ำมัน]] การหลอมโลหะ โรงงานผลิต[[สารอนินทรีย์]]<ref>http://www.tnf-engineering.com/tnf-engineering/index.php?option=com_content&view=article&id=51&Itemid=63</ref>

== ผลกระทบ ==
มลพิษทางอากาศเกิดผลเสียหลายอย่าง ทั้งทางตรงที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพอนามัยของมนุษย์ และทางอ้อมซึ่งได้แก่ ทำให้เกิดการบดบังแสงสว่างจากดวงอาทิตย์ที่ส่องมายังพื้นโลก หรือการทำลายทรัพย์สินหรือสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ
* '''ผลต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์'''
{| class="wikitable"
|-
! สารมลพิษ !! ผลกระทบต่อสุขภาพ
|-
| อนุภาคมลสาร ; [[ซัลเฟอร์ไดออกไซด์]] || ลดประสิทธิภาพการทำงานของปอด ; โรคที่เกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจที่เพิ่มขึ้น ; เกิดพิษเฉียบพลันและเรื้อรัง
|-
| [[โอโซน]] || การระคายเคืองตา จมูก และคอ ; การแน่นหน้าอก(chest tightness) ; การไอ ; เกิดอาการเจ็บปวดเมื่อหายใจ(pain on inspiration)
|-
| [[ไนโตรเจนออกไซด์]] || เพิ่มความเสี่ยงโรคทางเดินหายใจในเด็กอายุต่ำกว่า 12 ปี
|-
| [[ตะกั่ว]] || เกิดความผิดปกติของประสาท ความดันโลหิตสูง
|}
* '''ผลต่อพืชและสัตว์'''
[[ไฟล์:โรคพืชที่เกิดจากอากาศเป็นพิษ.jpg|thumb|right|ใบของพืชที่ถูกปกคลุมไปด้วยฝุ่นละอองและสารมลพิษ]]
สารมลพิษต่างๆในอากาศจะเข้าสู่ต้นพืชทางใบด้วยกระบวนการหายใจของพืช ภายหลังการได้รับมลพิษของต้นพืชมลพิษในอากาศ เช่น
สารพวก[[ออกซิแดนซ์]] จะไปทำให้ส่วนของใบแห้งเหี่ยว และทำให้[[เซลล์ใบ]]ยุบตัว [[ซัลเฟอร์ไดออกไซด์]]ทำให้พืชเกิดพิษเรื้อรังทำให้พืชไม่เจริญเติบโตเกิดจากการสูญเสีย[[คลอโรฟิลล์]] หรือการหยุดสร้างคลอโรฟิลล์ [[ไนโตรเจนออกไซด์]]จะทำให้เกิดแผลที่ใบและทำให้เกิดพิษเฉียบพลัน <ref>การป้องกันและควบคุมมลพิษ พัฒนา มูลพฤกษ์ พิมพ์ที่ บริษัท ซิกม่า ดีไซน์กราฟิก จำกัด พ.ศ. 2545 ISBN 974-13-1825-1</ref>

ส่วนสัตว์จะได้รับสารมลพิษเข้าสู่ร่างกายโดยการที่หายใจเอาอากาศที่มีมลพิษปะปนอยู่ด้วยเข้าสู่ร่างกายโดยตรง หรือโดยการที่สัตว์กินหญ้าหรือพืชอื่น ๆ ที่มีมลพิษทางอากาศตกสะสมอยู่ด้วยปริมาณมากพอที่จะเกิดอันตรายได้ มลพิษทางอากาศที่พบว่าทำให้เกิดอันตรายต่อปศุสัตว์มากที่สุด ได้แก่ [[อาร์เซนิก]]หรือ[[สารหนู]] [[ฟลูออรีน]] [[ตะกั่ว]] และ[[แคดเมียม]] เป็นต้น<ref>http://www.yala.ac.th/links/pitai/Link/Link5.2.htm</ref>
* '''การบดบังแสงสว่าง'''
สารมลพิษเหล่านี้ เป็นสารพวกแอโรซอล ในรูปของ [[หมอก]] [[ควัน]] หมอกผสมไอควัน หรือ[[ฝุ่น]] มีผลทำให้ลดการมองเห็นได้ใน ระยะไกลเกินกว่า 8 กิโลเมตร บดบังแสงสว่างจากดวงอาทิตย์ที่ส่องที่ส่องมายังพื้นโลก ทำให้เกิดปัญหาต่างๆ ได้แก่ [[การคมนาคม]] [[ขนส่ง]] ทัศนียภาพไม่สวยงาม
== การควบคุมมลพิษ ==
สารมลพิษจะถูกควบคุมและลดปริมาณการเกิดให้น้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้ เป็นการลดปัญหาที่จะมีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย และสภาพแวดล้อม รวมทั้งการลดค่าใช้จ่ายในการจัดหาเครื่องควบคุม
# '''ออกกฎหมายควบคุม''' ทางหน่วยงานของรัฐได้ออกกฎหมายเพื่อควบคุมมลพิษให้อยู่ในเกณฑ์มาตราฐาน
# '''กำหนดมาตรฐานเพื่อควบคุมดูแลคุณภาพอากาศ''' ทั้งในบรรยากาศและในสถานที่ประกอบการหรือบริเวณที่อยู่อาศัยให้เกิดความปลอดภัย
# '''การควบคุมหล่งกำเนิด'''
* การเปลี่ยนกระบวนการหรือวีธีการผลิต
* การนำสารปนเปื้อนที่เกิดจากกระบวนการผลิตไปใช้ประโยชน์ใหม่
* ใช้ใยแก้วดักจับ[[ฝุ่น]]และละอองก่อนปล่อยออกสู่ปล่องระบายอากาศ
* การควบคุมการระบาย[[สารอินทรีย์]]ระเหยจากแหล่งกำเนิดที่อยู่กับที่จะต้องทำการติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมเพิ่มเติม<ref>http://global.britannica.com/EBchecked/topic/1589060/air-pollution-control</ref>



; โง่ๆๆ
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:52, 28 พฤศจิกายน 2559

คิม208

มลพิษทางอากาศจากโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์แห่งหนึ่ง

โอม208

บูม208

เอิร์ท208

คิม

เล็วมากๆ

โง่ๆๆ

อ้างอิง