ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มูลนิธิร่วมกตัญญู"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 20: บรรทัด 20:
[[หมวดหมู่:มูลนิธิในประเทศไทย]]
[[หมวดหมู่:มูลนิธิในประเทศไทย]]
แสดงความคิดเห็น:สัญชาติไทย1ฉบับ,บัตรประชาชน1ฉบับ,รูปถ่าย1ฉบับ,บัตรข้าราชการ1ฉบับ,แบบกาคูหาเลือกตั้ง1ฉบับ,นโยบาย1ฉบับจาก53ฉบับ,บัตรคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(รสช)1ฉบับ,เครื่องวิทยุอุปกรณ์1ฉบับ,หนังสือหรือสมุดบันทึกสงคราม1ฉบับ,ใบขับขี่ขนส่งทุกกรม1ฉบับ,ใบมรณะ1ฉบับแทนจริง,ยารักษาโรค1ฉบับ,หนัง1จอ1ฉบับ,หนังสือรับฟังพูดคุย1ฉบับ,เปิดรับมูลนิธิร่วมกตัญญูอาสาใหม่1ฉบับ,กรอกใบสมัคร.......ชื่อ..............................นามสกุล......................ที่อยู่ท่ามี...................................................จังหวัด............บุคคลสำคัญของคุณ.................................ใบแนะแนวนำตัวจากโรงพยาบาล...........................................ระบุรักษารายการอื่นๆ%<:
แสดงความคิดเห็น:สัญชาติไทย1ฉบับ,บัตรประชาชน1ฉบับ,รูปถ่าย1ฉบับ,บัตรข้าราชการ1ฉบับ,แบบกาคูหาเลือกตั้ง1ฉบับ,นโยบาย1ฉบับจาก53ฉบับ,บัตรคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(รสช)1ฉบับ,เครื่องวิทยุอุปกรณ์1ฉบับ,หนังสือหรือสมุดบันทึกสงคราม1ฉบับ,ใบขับขี่ขนส่งทุกกรม1ฉบับ,ใบมรณะ1ฉบับแทนจริง,ยารักษาโรค1ฉบับ,หนัง1จอ1ฉบับ,หนังสือรับฟังพูดคุย1ฉบับ,เปิดรับมูลนิธิร่วมกตัญญูอาสาใหม่1ฉบับ,กรอกใบสมัคร.......ชื่อ..............................นามสกุล......................ที่อยู่ท่ามี...................................................จังหวัด............บุคคลสำคัญของคุณ.................................ใบแนะแนวนำตัวจากโรงพยาบาล...........................................ระบุรักษารายการอื่นๆ%<:
ึคุณสามาตรนำเชื้อโรคมาเข้าสู่ร่างกายได้อย่างมีความสุขขยายพันธุ์มนุษย์ให้ลำ้หน้าอยู่ตลอดเวลาทันยุคทันสมัยมนุษย์จูคำจำกัดความเป็นมนุษย์ความคิดเห็นอื่นๆมนุษย์ธรรม

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:15, 8 มิถุนายน 2558

มูลนิธิร่วมกตัญญู ถนนพระรามที่ 4

มูลนิธิร่วมกตัญญู หรือ หงี่เต็กตึ๊ง (จีนตัวย่อ: 泰国义德善堂; จีนตัวเต็ม: 泰國義德善堂; พินอิน: Tàiguó Yìdé shàntáng ไท่กั๋วอี้เต๋อซ่านถัง; สำเนียงแต้จิ๋ว: ไทก๊กหงี่เต็กเซี่ยงตึ๊ง) เป็นมูลนิธิในประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2513[1] ดำเนินงานสาธารณะในการเก็บศพ ช่วยเหลือผู้ประสบภัยและศูนย์วิทยุสื่อสาร รวมถึงงานการศึกษา

มูลนิธิร่วมกตัญญูตั้งอยู่ที่ เลขที่ 19 หมู่ 13 ถนนลาดกระบัง-กิ่งแก้ว-บางพลี (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3256) ตำบลบางพลีใหญ่ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ มีศูนย์ประสานงานและประกอบพิธีศพที่วัดหัวลำโพง ถนนพระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร

อักษรจีนบนตราสัญลักษณ์ของมูลนิธิดัดแปลงมาจากคำว่า 義 หมายถึง กตัญญู, คุณธรรม, ยุติธรรม

ประวัติ

มูลนิธิร่วมกตัญญูเกิดขึ้นจาก สมเกียรติ สมสกุลรุ่งเรือง พ่อค้าขายกาแฟชาวจีน โดยได้ช่วยเหลือ ผู้ด้อยโอกาสกว่าในชุมชนแออัด ตรอกโรงหมู กล้วยน้ำไท โดยเฉพาะกับคนจนๆ ที่ตายแล้วไม่มีเงินซื้อโลงศพ ต่อมาขยายวงจรจากท่าเรือคลองเตย ไปถึงพระโขนง พระประแดง บางขุนเทียน โดยใช้ชื่อ "ศาลหลวงปู่เปี่ยม"[2] จนในปี พ.ศ. 2513 จัดตั้งเป็นมูลนิธิ ภายใต้การจัดตั้งโดยโรจน์ โชติรุ่งเรือง และคณะกรรมการรวม 15 ท่าน โดยคุณสมเกียรติ สมสกุลรุ่งเรือง เป็นผู้บริหารงานและคุณรัตนา ภรรยา เป็นเลขาธิการ หลังจากที่โรจน์ถึงแก่กรรม คณะกรรมการบริหารมูลนิธิ จึงได้ยื่นขอเปลี่ยนใบอนุญาตจัดตั้งมูลนิธิร่วมกตัญญู เปลี่ยนชื่อประธานกรรมการ มาเป็นชื่อ สมเกียรติ สมสกุลรุ่งเรือง เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2530 จนถึงปัจจุบัน

เมื่อเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้ในปี พ.ศ. 2517 มูลนิธิร่วมกตัญญูได้ขยายงานเพิ่มในส่วนงานแผนกช่วยเหลือผู้ประสบภัยและศูนย์วิทยุสื่อสาร รวมถึงงานการศึกษา

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

แสดงความคิดเห็น:สัญชาติไทย1ฉบับ,บัตรประชาชน1ฉบับ,รูปถ่าย1ฉบับ,บัตรข้าราชการ1ฉบับ,แบบกาคูหาเลือกตั้ง1ฉบับ,นโยบาย1ฉบับจาก53ฉบับ,บัตรคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(รสช)1ฉบับ,เครื่องวิทยุอุปกรณ์1ฉบับ,หนังสือหรือสมุดบันทึกสงคราม1ฉบับ,ใบขับขี่ขนส่งทุกกรม1ฉบับ,ใบมรณะ1ฉบับแทนจริง,ยารักษาโรค1ฉบับ,หนัง1จอ1ฉบับ,หนังสือรับฟังพูดคุย1ฉบับ,เปิดรับมูลนิธิร่วมกตัญญูอาสาใหม่1ฉบับ,กรอกใบสมัคร.......ชื่อ..............................นามสกุล......................ที่อยู่ท่ามี...................................................จังหวัด............บุคคลสำคัญของคุณ.................................ใบแนะแนวนำตัวจากโรงพยาบาล...........................................ระบุรักษารายการอื่นๆ%<: ึคุณสามาตรนำเชื้อโรคมาเข้าสู่ร่างกายได้อย่างมีความสุขขยายพันธุ์มนุษย์ให้ลำ้หน้าอยู่ตลอดเวลาทันยุคทันสมัยมนุษย์จูคำจำกัดความเป็นมนุษย์ความคิดเห็นอื่นๆมนุษย์ธรรม