ประชาธิปัตย์ 66

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก พรรคประชาธิปัตย์ 66)
ประชาธิปัตย์ 66
Democraten 66
ชื่อย่อD66
ผู้ก่อตั้งฮันส์ ฟัน เมียร์โล
ฮันส์ เคราเติร์ส
ประธานอันเนอ-มารี สเปียริงส์
หัวหน้าว่าง [Note]
ผู้นำในคณะรัฐมนตรีเวาเตอร์ โกลเมส [รักษาการ]
ผู้นำในวุฒิสภาอันเนอลีน เบรเดโนร์ด
ผู้นำในสภาผู้แทนราษฎรโรบ เย็ตเติน
ผู้นำในรัฐสภายุโรปโซฟี อินต์ เฟ็ลด์
ก่อตั้ง14 ตุลาคม ค.ศ. 1966
ที่ทำการPartijbureau D66
Hoge Nieuwstraat 30
เดอะเฮก
ฝ่ายเยาวชนเยาวชนประชาธิปัตย์
จำนวนสมาชิก  (ปี 2020)ลดลง 24,955[1]
อุดมการณ์สังคมนิยมเสรี เสรีนิยม[2]
สหพันธ์ยุโรปนิยม[3]
หัวก้าวหน้า[4][5]
จุดยืนด้านงบประมาณ: กลาง[3] to กลางขวา[6]
ด้านสังคม: กลางซ้าย[6]
สีเขียว
สภาผู้แทนราษฏร
19 / 150
วุฒิสภา
7 / 75
ข้าหลวงในพระมหากษัตริย์
1 / 12
สภาจังหวัด
40 / 570
รัฐสภายุโรป
2 / 29
เว็บไซต์
www.d66.nl
การเมืองเนเธอร์แลนด์
รายชื่อพรรคการเมือง
การเลือกตั้ง

ประชาธิปัตย์ 66 (ดัตช์: Democraten 66 หรือย่อเป็น D66) เป็นพรรคการเมืองฝ่ายสังคมนิยมเสรีในประเทศเนเธอร์แลนด์[7][8][9][10] ตัวเลข 66 มาจากปีที่ก่อตั้งคือ ค.ศ. 1966 โดยกลุ่มปัญญาชนรุ่นเยาว์ นำโดยฮันส์ ฟัน เมียร์โล นักข่าวรุ่นใหม่ มีจุดประสงค์หลักคือต้องการเปลี่ยนแปลงระบบการเมืองให้มีความเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น

อ้างอิง[แก้]

  1. "Forum voor Democratie qua ledental de grootste partij van Nederland" (PDF). Documentatiecentrum Nederlandse Politieke Partijen (ภาษาดัตช์). สืบค้นเมื่อ 27 January 2020.
  2. Nordsieck, Wolfram (2017). "Netherlands". Parties and Elections in Europe. สืบค้นเมื่อ 4 August 2018.
  3. 3.0 3.1 Terry, Chris (11 May 2014). "Democrats '66 (D66)". The Democratic Society. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-04-10. สืบค้นเมื่อ 2020-04-15.
  4. Ricky Van Oers; Eva Ersbøoll; Theodora Kostakopoulou (2010). A Re-definition of Belonging?: Language and Integration Tests in Europe. BRILL. p. 60. ISBN 978-90-04-17506-8.
  5. Colin Hay; Anand Menon (18 January 2007). European Politics. Oxford University Press. OUP Oxford. p. 91. ISBN 978-0-199284-28-3. progressive Democrats 66.
  6. 6.0 6.1 Weaver, Matthew (16 March 2017). "Dutch elections: Rutte starts coalition talks after beating Wilders into second – as it happened". The Guardian. สืบค้นเมื่อ 30 March 2019.
  7. Vít Hloušek; Lubomír Kopeček (2010). Origin, Ideology and Transformation of Political Parties: East-Central and Western Europe Compared. Ashgate Publishing, Ltd. pp. 108–109. ISBN 978-0-7546-9661-2. สืบค้นเมื่อ 14 July 2013.
  8. Dimitri Almeida (2012). The Impact of European Integration on Political Parties: Beyond the Permissive Consensus. Routledge. p. 98. ISBN 978-0-415-69374-5.
  9. Stefaan Fiers; André Krouwel (2007). "The Low Countries: From Prime Minister to President-Minister". ใน Thomas Poguntke; Paul Webb (บ.ก.). The Presidentialization of Politics: A Comparative Study of Modern Democracies. Oxford University Press. p. 158. ISBN 978-0-19-921849-3. สืบค้นเมื่อ 24 August 2012.
  10. Simon Lightfoot (2005). Europeanizing Social Democracy?: The Rise of the Party of European Socialists. Routledge. p. 74. ISBN 978-0-415-34803-4. สืบค้นเมื่อ 14 July 2013.