สหภาพคริสเตียน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สหภาพคริสเตียน
ChristenUnie
ประธานปีต อาเดอมา
หัวหน้าแคร์ต-ยัน เซเคิร์ส
ผู้นำในวุฒิสภามีร์ยัม บิกเกอร์
ผู้นำในสภาผู้แทนราษฏรแคร์ต-ยัน เซเคิร์ส
ผู้นำในรัฐสภายุโรปเปเตอร์ ฟัน ดาเลิน
ก่อตั้ง22 มกราคม ค.ศ. 2000 (2000-01-22)
รวมตัวกับพันธมิตรการเมืองปฏิรูปและสหพันธ์การเมืองปฏิรูป
ที่ทำการPartijbureau ChristenUnie
Johan van Oldebarneveltlaan 46, อาเมอร์สโฟร์ต
ฝ่ายเยาวชนPerspectieF
จำนวนสมาชิก  (ปี 2020)เพิ่มขึ้น 25,234[1]
อุดมการณ์ประชาธิปไตยคริสเตียน[2]
สังคมนิยมคริสเตียน
อนุรักษนิยมทางสังคม[2][3]
ต่อต้านสหภาพยุโรปเล็กน้อย
จุดยืนด้านงบประมาณ: กลาง[4] ถึง กลางซ้าย[5]
ด้านสังคม: กลางขวา[6]
ศาสนาโปรเตสแตนต์ออร์ทอดอกซ์
วุฒิสภา
4 / 75
สภาผู้แทนราษฏร
5 / 150
สภาจังหวัด
31 / 570
รัฐสภายุโรป
1 / 29
ข้าหลวงในพระมหากษัตริย์
1 / 12
เว็บไซต์
www.christenunie.nl
การเมืองเนเธอร์แลนด์
รายชื่อพรรคการเมือง
การเลือกตั้ง

สหภาพคริสเตียน (ดัตช์: ChristenUnie หรือย่อเป็น CU) เป็นพรรคการเมืองฝ่ายประชาธิปไตยคริสเตียนในประเทศเนเธอร์แลนด์[7] มีแนวคิดทางสังคมค่อนมาทางอนุรักษนิยม โดยต่อต้านการสมรสเพศเดียวกัน การทำแท้ง และการุณยฆาต แต่มีแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ค่อนข้างก้าวหน้า โดยเฉพาะประเด็นทางเศรษฐกิจ ผู้อพยพ และสิ่งแวดล้อม[8][9][10]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Forum voor Democratie qua ledental de grootste partij van Nederland" (PDF). Documentatiecentrum Nederlandse Politieke Partijen (ภาษาดัตช์). สืบค้นเมื่อ 27 January 2020.
  2. 2.0 2.1 Nordsieck, Wolfram (2017). "Netherlands". Parties and Elections in Europe. สืบค้นเมื่อ 4 August 2018.
  3. "ChristianUnion (CU) & Political Reformed Party (SGP)". The Democratic Society. May 11, 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-12-13. สืบค้นเมื่อ 2020-04-15.
  4. Jort Statema; Paul Aarts. "The Netherlands: Follow Washington, Be a Good European". ใน Timo Behr; Teija Tiilikainen (บ.ก.). Northern Europe and the Making of the EU's Mediterranean and Middle East Policies. note on p. 237.
  5. "Netherlands – Political parties". European Election Database. Norwegian Centre for Research Data. สืบค้นเมื่อ 23 December 2019.
  6. Rudy B. Andeweg; Galen A. Irwin (2014). Governance and Politics of the Netherlands (4th ed.). Palgrave Macmillan. p. 74.
  7. Peter Starke; Alexandra Kaasch; Franca Van Hooren (2013). The Welfare State as Crisis Manager: Explaining the Diversity of Policy Responses to Economic Crisis. Palgrave Macmillan. p. 193. ISBN 978-1-137-31484-0.
  8. Joop W. Koopmans, บ.ก. (2015). Historical Dictionary of the Netherlands. Rowman & Littlefield Publishers. pp. 71–72. ISBN 978-1-4422-5593-7.
  9. "Links en rechts". www.parlement.com.
  10. Rudy B. Andeweg; Galen A. Irwin (2014). Governance and Politics of the Netherlands (4th ed.). Palgrave Macmillan. pp. 74, 78.