ผู้ใช้:Slentee/ทดลองเขียน/รายชื่อชนิดของเมฆ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

แปลจาก : https://en.wikipedia.org/wiki/List_of_cloud_types


รายชื่อชนิดของเมฆเป็นการจัดกลุ่มของเมฆในชั้นโทรโพสเฟียร์ ออกเป็น ระดับสูง (ซีร์รัส, ซีร์โรคิวมูลัส, ซีร์โรสเตรตัส), ระดับกลาง (อัลโตคิวมูลัส, อัลโตสเตรตัส), หลายระดับ (นิมโบสเตรตัส, คิวมูลัส, คิวมูโลนิมบัส) และ ระดับต่ำ (สเตรโตคิวมูลัส, สเตรตัส) ตามระดับความสูงหรือระดับที่สามารถพบเมฆได้โดยทั่วไป โดยเมฆคิวมูลัสขนาดเล็กมักถูกจัดอยู่ในกลุ่มเมฆระดับต่ำ เนื่องจากเมฆชนิดนี้ไม่ค่อยแสดงลักษณะในการเจริญแนวทางแนวตั้งที่สำคัญ ในสกุลเมฆหลายระดับ มักเป็นกลุ่มของเมฆที่มีกิจกรรมการพาความร้อนอย่างดีที่สุด และบ่อยครั้งจะถูกแยกออกไปเป็นกลุ่ม เมฆหอคอย (towering vertical) ซึ่งสกุลของเมฆทั้งหมดจะมีชื่อในภาษาละติน

สกุล (genera) ยังถูกแบ่งออกตามลักษณะการก่อตัวทางกายภาพ 5 ลักษณะด้วย

การระบุตัวตนและการแบ่งประเภทเมฆ: การจัดรายการของชนิด[แก้]

การระบุตัวตนและการแบ่งประเภทเมฆทั่วโฮโมสเฟียร์[แก้]

ระดับ/จุดก่อตัว (1) ก่อตัวเป็นสเตรตัส
(Stratiform)
ไม่มีการพาความร้อน
(2) ก่อตัวเป็นซีร์รัส
(Cirriform)
ส่วนมากไม่มีการพาความร้อน
(3) ก่อตัวเป็นสเตรโตคิวมูลัส
(Stratocumuliform)
มีการพาความร้อนแบบจำกัด
(4) ก่อตัวเป็นคิวมูลัส
(Cumuliform)
มีการพาความร้อนอย่างอิสระ
(5) ก่อตัวเป็นคิวมูลโลนิมบัส
(Cumulonimbiform)
มีการพาความร้อนอย่างรุนแรง
ระดับสูงสุดขีด นอคติลูเซนต์ (โพลาร์เมโซสเฟียร์)
ระดับสูงมาก โพลาร์สตราโทสเฟียร์
ระดับสูง เมฆซีร์โรสเตรตัส เมฆซีร์รัส เมฆซีร์โรคิวมูลัส
ระดับกลาง เมฆอัลโตสเตรตัส เมฆอัลโตคิวมูลัส
หอคอยแนวตั้ง เมฆคอนเจสตัสคิวมูลัส เมฆคิวมูโลนิมบัส
หลายระดับ/แนวตั้ง เมฆนิมโบสเตรตัส เมฆมีดิโอคริสคิวมูลัส
ระดับต่ำ เมฆสเตรตัส เมฆสเตรโตคิวมูลัส เมฆฮิวมิลิสคิวมูลัส
ระดับพื้นผิว หมอก

การระบุตัวตนและการแบ่งประเภทเมฆเมโซสเฟียร์ขั้วโลก[แก้]

เมฆที่ก่อตัวในชั้นเมโซสเฟียร์ โดยทั่วไปแล้วมีโครงสร้างแบบก่อตัวเป็นซีร์รัส (cirriform) แต่ไม่มีการตั้งชื่อโดยใช้ภาษาละตินตามลักษณะ เมฆเมโซสเฟียร์ขั้วโลกนั้นเป็นเมฆที่สูงที่สุดในชั้นบรรยากาศ ได้รับการตั้งชื่อโดยใช้ภาษาละตินว่า นอคติลูเซนต์ (noctilucent) ซึ่งอ้างอิงถึงลักษณะของเมฆนี้ ที่จะส่องสว่างขึ้นในช่วงสนธยา

เมฆก่อตัวเป็นซีร์รัสระดับสูงสุดขีด[แก้]

เมฆนอคติลูเซนต์เหนือท้องฟ้าประเทศเอสโตเนีย

เมฆนอคติลูเซนต์เป็นเมฆที่มีลักษณะบาง ส่วนมากจะดูคล้ายกับเมฆซีร์รัส ก่อตัวอยู่ในระดับความสูง 80 ถึง 85 กิโลเมตร (262,000–279,000 ฟุต) และปรากฎให้เห็นเป็นบางครั้งในช่วงสนทยาก่อนดวงอาทิตย์ขึ้นหรือหลังดวงอาทิตย์ตก[1][2]

ชนิดที่ 1
บางมาก; คล้ายกับเมฆซีร์รัส
ชนิดที่ 2
เป็นแถบ เป็นลายเส้นยาว มักเรียงขนานกันเป็นกลุ่ม หรือเชื่อมกันที่มุมเล็ก ๆ
ชนิดย่อย
2A
ลายเส้นกระจาย, มีขอบที่เบอล
2B
ลายเส้นและขอบคมชัด
ชนิดที่ 3
เป็นลายคลื่น เว้นระยะอย่างชัดเจน สายเส้นขนานกันเป็นช่วงสั้น ๆ
ชนิดย่อย
3A
ลายเส้นสั้น ตรง และ แคบ
3B
โครงสร้างคล้ายเมฆและมีความเคลื่อนไหว
ชนิดที่ 4
วงวน บางส่วน (หรือส่วนมาก หรือทั้งหมด) เป็นรูปวงแหวนที่มีศูนย์กลางมืด
ชนิดย่อย
4A
Whirls possessing a small angular radius of curvature, sometimes resembling light ripples on a water surface.
4B
Simple curve of medium angular radius with one or more bands.
4C
Whirls with large-scale ring structures.

การระบุตัวตนและการแบ่งประเภทเมฆสตราโทสเฟียร์ขั้วโลก[แก้]

เมฆก่อตัวเป็นซีร์รัสระดับสูง[แก้]

เมฆเนครีอัส (หอยมุข) และเมฆที่ไม่ใช่เนครีอัส[แก้]

การระบุตัวตนและการแบ่งประเภทเมฆในชั้นโทรโพสเฟียร์[แก้]

เมฆก่อตัวเป็นซีร์รัส, สเตรโตคิวมูลัส และ สเตรตัสระดับสูง[แก้]

เมฆระดับสูงก่อตัวขึ้นในบริเวณที่สูงที่สุดและหนาวเย็นที่สุดของโทรโพสเฟียร์ ตั้งแต่ประมาณ 5 ถึง 12 กิโลเมตร (16,500 ถึง 40,000 ฟุต) ในเขตอบอุ่น[3][4] ที่ความสูงนี้ น้้ำมักจะแข็งตัวเป็นเมฆระดับสูง ซึ่งโดยทั่วไปจะประกอบด้วยผลึกน้ำแข็งหรือหยดน้ำเย็นยิ่งยวด (supercooled water)

สกุลซีร์รัส[แก้]

เมฆซีร์รัสอันไซนัส (V-2)
เมฆซีร์รัสสปิสเซตัส (V-3)
เมฆซีร์รัสไฟเบรตัสเรดิเอตัส (V-8)

ตัวย่อ: Ci

เมฆก่อตัวเป็นซีร์รัส (Cirriform) มักจะเป็นชิ้นเล็ก ๆ และโปร่งแสงหรือโปรงใสเป็นส่วนมาก เมฆซีร์รัสโดดเดี่ยว (Isolated) จะไม่ทำให้เกิดฝน อย่างไรก็ตาม เมฆซีร์รัสจำนวนมากสามารถบ่งบอกได้ถึงการมาถึงของระบบพายุได้ แม้ว่าอากาศในขณะนั้นจะดีก็ตาม

เมฆในสกุลซีร์รัสมีหลายชนิด ขึ้นอยู่กับชนิดและพันธ์ุ:

ชนิด[แก้]
  • เมฆซีร์รัสไฟเบรตัส (Cirrus fibratus) (V-1)
    เมฆระดับสูงมีลักษณะปรากฏคล้าย "หางของม้าตัวเมีย" เมฆเหล่านี้เป็นเมฆยาว เป็นเส้น ๆ และโค้งโดยไม่มีปอยหรือการม้วนที่ปลายเมฆ
  • เมฆซีร์รัสอันไซนัส (Cirrus uncinus) (V-2)
    เมฆที่มีลักษณะเป็นเส้นใยที่มีปลายโค้งเป็นตะขอหรือรูปร่างม้วนแบบหงายขึ้น
  • เมฆซีร์รัสสปิสเซตัส (Cirrus spissatus) (V-3)
    เมฆที่มีลักษณะเป็นแผ่นหนาแน่นและทึบแสง หรือส่วนมากทึบแสง
  • เมฆซีร์รัสแคสเทลเลนัส (Cirrus castellanus) (V-4)
    เมฆที่มีลักษณะเป็นก้อนหนาแน่นหรือเป็น "หอคอย" ที่เชื่อมต่อกันด้วยฐานบาง ๆ
  • เมฆซีร์รัสฟล็อกคัส (Cirrus floccus) (V-5)
    เมฆที่มีลักษณะโค้งมนปรากฏขึ้นที่ยอด โดยส่วนด้านล่างของเมฆมีลักษณะขรุขระ[5]
การแบ่งชนิดตามความทึบ
  • ไม่มี; โปรงแสงเสมอแยกเว้นชนิดสปิสเซตัส ซึ่งมีลักษณะทึบโดยธรรมชาติ[6]
การแบ่งชนิดตามลักษณะแบบไฟเบรตัส
การแบ่งชนิดตามลักษณะแบบเรดิเอตัส
เมฆที่มีลักษณะเป็นแถบแนวนอนที่ดูเหมือนจะบรรจบกันที่ขอบฟ้า โดยปกติจะเกี่ยวข้องกับชนิดไฟเบรตัสและอันไซนัส
การแบ่งชนิดตามลักษณะแบบดูพลิเคตัส
เมฆที่มีลักษณะเป็นแผ่น ๆ อยู่ในชั้นต่าง ๆ ของโทรโพสเฟียร์ระดับบน ซึ่งอาจเชื่อมกันที่จุดหนึ่งหรือมากกว่า โดยปกติจะเกี่ยวข้องกับชนิดไฟเบรตัสและอันไซนัส
  • เมฆซีร์รัสไฟเบรตัสดูพลิเคตัส (Cirrus fibratus duplicatus) (V-10)
  • เมฆซีร์รัสอันไซนัสดูพลิเคตัส (V-11)
  • พันธ์ุโดยปกติจะไม่เกี่ยวข้องกับเมฆซีร์รัสชนิดสปิสเซตัส, แคสเทลเลนัส หรือ ฟล็อกคัส[5][6]
เมฆลักษณะเสริมบนหยาดน้ำฟ้า
  • ไม่มีความสัมพันธ์กับเมฆซีร์รัส
เมฆลักษณะเสริมบนเมฆ
  • แมมมา (Mamma)
    ส่วนที่ยื่นออกมาคล้ายกับฟองสบู่ ส่วนมากจะพบในชนิดแคสเทลเลนัส[7]
เมฆดั้งเดิมเจนิตัส
  • เมฆซีร์รัส ซีร์โรคิวมูโลเจนิตัส (Cirrus cirrocumulogenitus)
  • เมฆซีร์รัส อัลโตคิวมูโลเจนิตัส (Cirrus altocumulogenitus)
  • เมฆซีร์รัส คิวมูโลนิมโบเจนิตัส (Cirrus cumulonimbogenitus)
  • เมฆซีร์รัส โฮโมเจนิตัส (Cirrus homogenitus)
    เมฆซีร์รัสที่เกิดจากแพร่ของคอนเทรลจากอากาศยาน
เมฆดั้งเดิมมิวเตตัส
  • เมฆซีร์รัส ซีร์โรสเตรโตมิวเตตัส (Cirrus cirrostratomutatus)

สกุลซีร์โรคิวมูลัส[แก้]

A A large field of cirrocumulus clouds in a blue sky, beginning to merge near the upper left.
แผงของเมฆซีร์โรคิวมูลัสสเตรติฟอร์มิส (V-12)

ตัวย่อ: Cc.[3]

เมฆก่อตัวเป็นสเตรโตคิวมูลัสระดับสูงของสกุลเมฆซีร์โรคิวมูลัส ก่อตัวขึ้นเมื่อความชื้นในอากาศในชั้นบนของชั้นโทรโพสเฟียร์ถึงจุดอิ่มตัว โดยก่อตัวขึ้นเป็นผลึกน้ำแข็งหรือหยดน้ำเย็นยิ่งยวด การพาความอย่างจำกัดที่ไม่เสถียรในเมฆระดับนี้ ทำให้เมฆมีลักษณะปรากฏม้วนหรือเป็นระลอกคลื่น และถึงแม้ว่าจะไม่มีคำนำหน้าว่า สเตรโต- แต่เมฆซีร์โรคิวมูลัสที่เรียงตัวเป็นชั้น นับเป็นเมฆในสกุลที่ก่อตัวเป็นสเตรโตคิวมูลัสโดยธรรมชาติ[8]

ชนิดที่ก่อตัวเป็นสเตรโตคิวมูลัสระดับสูง[แก้]
การแบ่งชนิดตามความทึบ
  • ไม่มี (โปรงแสงเสมอ)
แบบของเมฆที่ก่อตัวเป็นสเตรโตคิวมูลัสตามพันธุ์อันดูเลตัส
เมฆซีร์โรคิวมูลัสที่มีฐานเป็นคลื่น โดยปกติจะเกี่ยวข้องกับชนิดสเตรติฟอร์มิสและเลนติคิวลาริส (V-16)
แบบตามพันธุ์ลาคิวโนซัส
เมฆซีร์โรคิวมูลัสที่มีช่องโปร่งใสขนาดใหญ่ โดยปกติจะเกี่ยวข้องกับชนิดสเตรติฟอร์มิสและแคสเทลเลนัส (และยังมีชนิดเมฆที่ก่อตัวเป็นคิวมูลัสฟล็อกคัสด้วย)
เมฆที่ก่อตัวเป็นสเตรโตคิวมูลัสลาคิวโนซัส (Stratocumuliform lacunosus)
เมฆลักษณะเสริมบนหยาดน้ำฟ้า
  • เวอร์ก้า (Virga)
    มีหยาดน้ำฟ้าบาง ๆ ที่ระเหยไปเหนือพื้นดิน ส่วนมากจะพบในชนิดสเตรติฟอร์มิส, แคสเทลเลนัส และ ฟล็อกคัส[7]
เมฆลักษณะเสริมบนเมฆ
  • แมมมา (Mamma)
    มีส่วนที่ยื่นลงมาคล้ายกับฟอง ส่วนมากจะพบในชนิดแคสเทลเลนัส
เมฆดั้งเดิมเจนิตัส
  • เมฆซีร์โรคิวมูลัส โฮโมเจนิตัส (Cirrocumulus homogenitus)
    เมฆซีร์โรคิวมูลัสที่เกิดจากแพร่ของคอนเทรลจากอากาศยาน
เมฆดั้งเดิมมิวเตตัส
  • เมฆซีร์โรคิวมูลัส ซีร์โรมิวเตตัส (Cirrocumulus cirromutatus)
  • เมฆซีร์โรคิวมูลัส ซีร์โรสเตรโตมิวเตตัส (Cirrocumulus cirrostratomutatus)
  • เมฆซีร์โรคิวมูลัส อัลโตคิวมูโลมิวเตตัส (Cirrocumulus altocumulomutatus)

สกุลซีร์โรสเตรตัส[แก้]

ชนิด[แก้]

เมฆก่อตัวเป็นสเตรโตคิวมูลัสและสเตรตัสระดับกลาง[แก้]

สกุลอัลโตคิวมูลัส[แก้]

ชนิดที่ก่อตัวเป็นสเตรโตคิวมูลัสระดับกลาง[แก้]

สกุลอัลโตสเตรตัส[แก้]

ชนิด[แก้]

เมฆก่อตัวเป็นคิวมูโลนิมบัส, คิวมูลัส และ สเตรตัสในแนวตั้งหลายระดับ (ฐานเมฆในระดับต่ำถึงกลาง)[แก้]

สกุลคิวมูโลนิมบัส: หอคอยแนวตั้ง[แก้]

ชนิด[แก้]

สกุลคิวมูลัส: หอคอยแนวตั้ง[แก้]

ชนิด[แก้]

สกุลนิมโบสเตรตัส: แนวตั้งระดับกลางหรือลึก[แก้]

ชนิด[แก้]

สกุลคิวมูลัส: แนวตั้งระดับกลาง[แก้]

ชนิด[แก้]

เมฆก่อตัวเป็นสเตรโตคิวมูลัส, คิวมูลัส และ สเตรตัสระดับต่ำ[แก้]

สกุลสเตรโตคิวมูลัส[แก้]

ชนิด[แก้]

สกุลคิวมูลัส (เมฆที่เจริญในแนวตั้งเล็กน้อย)[แก้]

ชนิด[แก้]

สกุลสเตรตัส[แก้]

ชนิด[แก้]

ชื่อและนิรุกติศาสตร์ของเมฆโทรโพสเฟียร์[แก้]

สกุลเมฆของ WMO[แก้]

ชนิดเมฆของ WMO[แก้]

พันธุ์เมฆของ WMO[แก้]

ลักษณะเสริมเมฆของ WMO[แก้]

เมฆดั้งเดิม (เจนิตัส)[แก้]

เมฆเจนิตัสอื่น ๆ[แก้]

เมฆดั้งเดิม (มิวเตตัส)[แก้]

ข้อกำหนดอย่างไม่เป็นทางการล่าสุดว่าด้วยแบ่งประเภทและการตั้งชื่อละตินที่ได้รับการยอมรับโดย WMO[แก้]

WMO กับข้อกำหนดอย่างไม่เป็นทางการเกี่ยวกับชนิดของเมฆที่มีการพาความร้อนอย่างอิสระและพายุ[แก้]

ดาวเคราะห์ดวงอื่น[แก้]

ดาวศุกร์[แก้]

เมฆที่ก่อตัวเป็นสเตรตัส[แก้]

เมฆที่ก่อตัวเป็นสเตรโตคิวมูลัส[แก้]

เมฆที่ก่อตัวเป็นคิวมูลัสและคิวมูโลนิมบัส[แก้]

ดาวอังคาร[แก้]

เมฆที่ก่อตัวเป็นซีร์รัสระดับสูงสุดขีด[แก้]

เมฆที่ก่อตัวเป็นซีร์รัสระดับสูง[แก้]

เมฆที่ก่อตัวเป็นสเตรโตคิวมูลัสระดับสูง[แก้]

เมฆที่ก่อตัวเป็นสเตรโตคิวมูลัสระดับต่ำ[แก้]

เมฆบริเวณพื้นผิว[แก้]

ดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์[แก้]

เมฆที่ก่อตัวเป็นซีร์รัส[แก้]

เมฆที่ก่อตัวเป็นสเตรตัสและสเตรโตคิสมูลัส[แก้]

เมฆที่ก่อตัวเป็นคิวมูลัสและคิวมูโลนิมบัส[แก้]

ดาวยูเรนัสและดาวเนปจูน[แก้]

เมฆที่ก่อตัวเป็นซีร์รัส[แก้]

เมฆที่ก่อตัวเป็นสเตรตัส[แก้]

เมฆที่ก่อตัวเป็นคิวมูลัสและคิวมูโลนิมบัส[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. World Meteorological Organization, บ.ก. (1975). Noctilucent, International Cloud Atlas (PDF). Vol. I. p. 66. ISBN 92-63-10407-7. สืบค้นเมื่อ 26 August 2014.
  2. Michael Gadsden; Pekka Parviainen (September 2006). Observing Noctilucent Clouds (PDF). International Association of Geomagnetism & Aeronomy. p. 9. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 31 October 2008. สืบค้นเมื่อ 31 January 2011. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |lastauthoramp= ถูกละเว้น แนะนำ (|name-list-style=) (help)
  3. 3.0 3.1 Clouds Online (2012). "Cloud Atlas". สืบค้นเมื่อ 1 February 2012.
  4. JetStream (5 January 2010). "Cloud Classifications". National Weather Service. สืบค้นเมื่อ 31 January 2011.
  5. 5.0 5.1 5.2 Boyd, Sylke (2008). "Clouds – Species and Varieties". University of Minnesota. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 30, 2010. สืบค้นเมื่อ 4 February 2012.
  6. 6.0 6.1 6.2 6.3 Aerographer/Meteorology (2012). "Cloud Variety". meteorologytraining.tpub.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 December 2012. สืบค้นเมื่อ 2 July 2012.
  7. 7.0 7.1 World Meteorological Organization, บ.ก. (1975). Features, International Cloud Atlas (PDF). Vol. I. pp. 22–24. ISBN 92-63-10407-7. สืบค้นเมื่อ 26 August 2014.
  8. Burroughs, William James; Crowder, Bob (January 2007). Weather, p.216. Fog City Press, San Francisco. ISBN 978-1-74089-579-8.
  9. 9.0 9.1 9.2 9.3 World Meteorological Organization, บ.ก. (1975). Species, International Cloud Atlas (PDF). Vol. I. pp. 17–20. ISBN 92-63-10407-7. สืบค้นเมื่อ 26 August 2014.