ปืนเล็กยาวต่อสู้รถถังบอยส์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไรเฟิลต่อต้านรถถังบอยส์
ปืนไรเฟิลต่อต้านรถถังบอยส์ รุ่น Mk I
ชนิดไรเฟิลต่อต้านรถถัง
แหล่งกำเนิดสหราชอาณาจักร
บทบาท
ประจำการพ.ศ. 2480-2486
ผู้ใช้งานSee Users
สงครามสงครามโลกครั้งที่สอง
สงครามฤดูหนาว
ประวัติการผลิต
ช่วงการออกแบบพ.ศ. 2480
บริษัทผู้ผลิตRoyal Small Arms Factory
ช่วงการผลิตพ.ศ. 2480–2483
จำนวนที่ผลิต~62,000
แบบอื่นMk I, Mk II
ข้อมูลจำเพาะ
มวล35 ปอนด์ (16 กิโลกรัม) ไม่ได้มีการบรรจุ
ความยาว5 ฟุต 2 นิ้ว (1.575 เมตร)
ความยาวลำกล้อง36 นิ้ว (910 มม); รุ่นสำหรับหน่วยทหารพลร่ม: 30 นิ้ว (762 มม)

กระสุนKynoch & RG .55 Boys
ขนาดลำกล้องปืน(เส้นผ่าศูนย์กลางกระสุน) .0.5507 นิ้ว (13.99 มม) (9/16 นิ้ว) [1]
การทำงานดึงลูกเลื่อนก่อนยิง
อัตราการยิง~10 นัด/นาที
ความเร็วปากกระบอกMk I: 747 เมตร/วินาที (2,450.1 ฟุต/วินาที) Mk II: 884 เมตร/วินาที (2,899.5 ฟุต/วินาที)
ระยะหวังผลพลังการเจาะ 23.2 มม ที่ 90° 100 หลา (91 เมตร)[2] พลังการเจาะ 18.8 มม ที่ 90° 500 หลา (460 เมตร)[2]
ระบบป้อนกระสุนแม็กกาซีนถอดออกได้แบบกล่อง บรรจุ 5 นัด
ทหารอาสาสมัครชาวสวีเดนที่ถือปืนบอยส์ในสงครามฤดูหนาว
การยิงฝึกซ้อม
ภาพโปสเตอร์สงครามโลกครั้งที่สองของอเมริกาที่มีภาพทหารอังกฤษถือปืนไรเฟิลบอยส์

ไรเฟิล,ต่อต้านรถถัง, .55ไอเอ็น, บอยส์ เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า "ปืนไรเฟิลต่อต้านรถถังบอยส์" (หรือเรียกง่ายๆ ว่า บอยส์) เป็นปืนไรเฟิลต่อต้านรถถังสัญชาติบริติชที่ถูกใช้ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง มันมักจะถูกเรียกชื่อเล่นว่า "ปืนช้าง" โดยผู้ใช้งาน เนื่องจากขนาดของมันและขนาดลำกล้องของมัน[3]

ปืนเหล่านี้มีรุ่นสามหลักของบอยส์: รุ่นแรกคือ (มาร์ค 1) ซึ่งมีปากกระบอกปืนแบบหัวกลมเพื่อลดแรงรีคอยล์ และโมโนพอดแบบรูตัวที ถูกสร้างขึ้นเป็นหลักที่บริษัทผลิตอาวุธขนาดเล็กเบอร์นิงแฮม (BSA)ในอังกฤษ รุ่นต่อมา (มาร์ค 1*) ถูกสร้างขึ้นเป็นหลักที่ John Inglis and Company ในโทรอนโต, รัฐออนแทรีโอ ประเทศแคนาดา ซึ่งมีปากกระบอกปืนแบบสี่เหลี่ยมรูปทรงคล้ายฮาโมนิก้าเพื่อลดแรงรีคอยล์ และขาตั้งปืนแบบรูปตัววี และรุ่นที่สามที่ถูกทำขึ้นสำหรับกองกำลังทหารโดดร่มซึ่งมีลำกล้องขนาด 30 นิ้ว (762มม) และไม่มีปากกระบอกปืนเพื่อลดแรงรีคอยล์ นอกจากนี้ยังมีการใช้กระสุนที่แตกต่างกันออกไป โดยรุ่นต่อๆ มาแสดงให้เห็นถึงการเจาะเกราะที่ดีกว่า

แม้ว่าจะมีปริมาณที่เพียงพอที่จะต่อกรกับรถถังเบาและรถถังขนาดเล็ก (tankettes) ในช่วงแรกของสงคราม ต่อมาบอยส์นั้นไม่สามารถยิงทะลุเจาะเกราะกับยานพาหนะที่มีเกราะหนากว่าและได้ถูกเลิกใช้งานไป จากนั้นก็ได้หันไปใช้เครื่องยิงจรวดต่อต้านรถถังแบบ PIAT ที่มีประสิทธิภาพสูงกว่าแทนระหว่างสงคราม


ผู้ใช้[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Huon 1988, pp. 339–340.
  2. 2.0 2.1 Boys Anti-Tank Rifle Mk.I, 1942, Small Arms Training, Volume I, Pamphlet No.5
  3. Henderson 1958, p. 18.
  4. "Boys Mark 1 Anti tank Rifle". awm.gov.au. Australian War Memorial.
  5. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Chinese
  6. Bishop 2002, p. 212
  7. Sam Katz (1988). Israeli Elite Units since 1948. Osprey Publishing. p. 6. ISBN 9780850458374.
  8. 8.0 8.1 Bishop 2002, p. 213
  9. Sumner, Ian (25 Aug 2001). The Indian Army 1914–1947. Elite 75. Osprey Publishing. p. 62. ISBN 9781841761961.
  10. Battistelli 2013, p. 32
  11. Stack, Wayne; O’Sullivan, Barry (20 Mar 2013). The New Zealand Expeditionary Force in World War II. Men-at-Arms 486. Osprey Publishing. p. 45. ISBN 9781780961118.
  12. Zaloga, Steven J. (1982). The Polish Army 1939–45. Men-at-Arms 117. Osprey Publishing. p. 22. ISBN 9780850454178.
  13. Zaloga & Ness 1998, p. 197.
  14. Pegler 2010, p. 55.
  15. Vukšić, Velimir (July 2003). Tito's partisans 1941–45. Warrior 73. Osprey Publishing. p. 25. ISBN 978-1-84176-675-1.