ปฏิบัติการซิทาเดล
ปฏิบัติการซิทาเดล | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ ยุทธการที่คูสค์บนแนวรบด้านตะวันออกของสงครามโลกครั้งที่สอง | |||||||||
รถกึ่งสายพานของเยอรมันกำลังลากปืนใหญ่, ในช่วงระหว่างปฏิบัติการ | |||||||||
| |||||||||
คู่สงคราม | |||||||||
นาซีเยอรมนี | สหภาพโซเวียต | ||||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||||
กำลัง | |||||||||
ความสูญเสีย | |||||||||
ปฏิบัติการซิทาเดล (เยอรมัน: Unternehmen Zitadelle) เป็นปฏิบัติการการรุกของเยอรมันที่ต่อกรกับกองทัพโซเวียตในส่วนที่ยืดออกของคูสค์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองบนแนวรบด้านตะวันออก เป็นการริเริ่มของยุทธการที่คูสค์ ด้วยความตั้งใจของปฏิบัติการการป้องกันที่โซเวียตได้นำไปใช้เพื่อต่อต้านการรุกของเยอรมันที่เรียกว่า ปฏิบัติการป้องกันทางยุทธศาสตร์คูสค์ การรุกของเยอรมันได้ถูกตีโต้กลับด้วยปฏิบัติการปอลโคโวเรซ รูมยานเซฟ (รัสเซีย: Полководец Румянцев) และปฏิบัติการคูตูซอฟ (รัสเซีย: Кутузов) สำหรับเยอรมัน การรบครั้งนี้เป็นการรุกทางยุทธศาสตร์ครั้งสุดท้ายที่พวกเขาจะสามารถเปิดฉากบนแนวรบด้านตะวันออก เมื่อฝ่ายสัมพันธมิตรบุกเข้ายึดครองที่เกาะซิซิลีได้เริ่มต้นขึ้น อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ได้ถูกบังคับให้หันเหการฝึกกองกำลังทหารในฝรั่งเศสเพื่อเผชิญหน้าการคุกคามของฝ่ายสัมพันธมิตรในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน แทนที่จะใช้เป็นยุทธศาสตร์ในการสำรองกองกำลังสำหรับแนวรบด้านตะวันออก เยอรมันได้สูญเสียกำลังพลและรถถังอย่างกว้างขวางได้ทำให้เกิดความมั่นใจของกองทัพแดงแห่งสหภาพโซเวียตที่ได้รับชัยชนะนั้นได้มีความสุขกับการริเริ่มทางยุทธศาสตร์สำหรับช่วงที่เหลือของสงคราม
เยอรมันได้คาดหวังว่าจะลดศักยภาพของการรุกฝ่ายโซเวียตลงสำหรับช่วงฤดูร้อนในปี ค.ศ. 1943 โดยการตัดกองกำลังไปจำนวนมากที่พวกเขาได้คาดการณ์ว่าจะอยู่ในส่วนที่ยื่นออกของคูสค์ ส่วนที่ยื่นออกของคูสค์หรือตอกลิ่ม มีระยะทาง 250 กิโลเมตร (160ไมล์) จากทางเหนือไปถึงทางใต้และ 160 กิโลเมตรจากทางตะวันออกไปยังทางตะวันตก แผนการณ์ที่คลอบคลุมโดยก้ามปูคู่ที่ได้ผ่านทางปีกทางเหนือและทางใต้ของส่วนที่ยื่นออก ฮิตเลอร์ได้เชื่อว่าชัยชนะที่แห่งนี้จะทำให้ยืนยันถึงความแข็งแกร่งของเยอรมันและแก้ไขศักดิ์ศรีของเขากับพันธมิตรของเขา ที่กำลังพิจารณาในการถอนตัวออกสงคราม ด้วยความคาดหวังว่าเชลยชาวโซเวียตจำนวนมากที่ถูกจับกุมมาได้จะถูกใช้เป็นแรงงานทาสในโรงงานอุตสาหกรรมผลิตอาวุธยุโธปกรณ์ของเยอรมัน
รัฐบาลโซเวียตได้ทราบถึงเจตนารมณ์ของเยอรมัน โดยส่วนหนึ่งของหน่วยสืบราชการลับของอังกฤษและ Tunny intercepts ได้รู้ล่วงหน้าว่าการโจมตีจะตกอยู่ที่คอของส่วนที่ยื่นออกของคูสค์ โซเวียตได้สร้างแนวป้องกันในเชิงลึกที่ถูกออกแบบมาเพื่อหยุดยั้งหัวหอกยานเกราะเยอรมัน เยอรมันได้มีความล่าช้าของการรุก ในขณะที่พวกเขาได้พยายามที่จะเพิ่มเติมกองกำลังและรอสำหรับอาวุธใหม่ ส่วนใหญ่เป็นรถถังใหม่คือ รถถังแพนเธอร์ แต่ยังมีจำนวนมากของรถถังหนักไทเกอร์ นี่เป็นเวลาของกองทัพแดงที่ได้สร้างแนวป้องกันในเชิงลึก การเตรียมความพร้อมในการป้องกันรวมทั้งเขตทุ่นระเบิด ป้อมปราการ โซนการยิงปืนใหญ่ และจุดการต่อต้านรถถังที่แข็งแกร่งซึ่งได้ขยายออกไปประมาณ 300 กิโลเมตร (190 ไมล์) ในเชิงลึก การเคลื่อนไหวของโซเวียตที่ก่อตัวได้ย้ายออกจากส่วนที่ยืดและกองกำลังสำรองขนาดใหญ่ที่ถูกสร้างขึ้นสำหรับยุทธศาสตร์การรุกโจมตีโต้กลับ
หมายเหตุ
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อReferenceA
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อBreakdown 3
- ↑ 3.0 3.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อKurskA
- ↑ Figures for 5–31 July, as given by the Luftwaffe logistics staff (Generalquartiermeister der Luftwaffe).
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อBreakdown 4
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อBreakdown 5
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Beevor 2012, p. 485, "The German army had received a severe battering... the Germans had no choice but to withdraw to the line of the River Dnepr, and start to pull their remaining forces out from the bridgehead left on the Taman peninsula".
- ↑ 2.0 2.1 Glantz & House 2004, p. 338.
- ↑ 3.0 3.1 Glantz & House 1995, p. 165.
- ↑ 4.0 4.1 Glantz & House 2004, p. 337.
- ↑ 5.0 5.1 5.2 Frieser 2007, p. 154.
- ↑ 6.0 6.1 Beevor 2012, p. 485.
- ↑ Glantz & House 2004, p. 276.
- ↑ U.S. Army Concepts Analysis Agency, Kursk Operation Simulation and Validation Exercise – Phase III (KOSAVE II), p. 5-14 through 5–15.
- ↑ Operation Barbarossa: the Complete Organisational and Statistical Analysis, and Military Simulation Volume I
- ↑ Armoured Warfare: A Military, Political and Global History. Alaric Searle
- ↑ Clark 2012, p. 408.
- ↑ "Heeresarzt 10-Day Casualty Reports per Army/Army Group, 1943" เก็บถาวร 25 พฤษภาคม 2013 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. World War II Stats. Retrieved 4 July 2015.
- ↑ Frieser 2007, p. 201 : Exact numbers are unknown; the entire German eastern front lost 1,331 tanks and assault guns for July and August, so the number of 760 is an estimate.
- ↑ Bergström 2008, p. 120.
- ↑ Krivosheev 2001, p. Kursk.
- ↑ Krivosheev 2001, p. Weapons and military equipment. Production and loss.
- ↑ 17.0 17.1 Frieser 2007, p. 150.
- ↑ 18.0 18.1 18.2 Krivosheev 2001.
- ↑ G.A. Koltunov and B.G Solotiev, (Kurskaya Bitva, p.366 16-ya Vozdusnye Sily v Volykoy Otechestvennoy Voyne p. 186).
- ↑ Krivosheev 1997, pp. 132–134.
- ↑ Krivosheev 1997, p. 262.