ทคฑูเศฐะหลวาอีคณปตีมนเทียร

พิกัด: 18°30′59″N 73°51′22″E / 18.51639°N 73.85611°E / 18.51639; 73.85611
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ศรีมันตะ ทคฑูเศฐะ หลวาอี คณปตีมนเทียร
श्रीमंत दगडूशेठ हलवाई गणपती मंदिर
ด้านนอกของมนเทียร
ศาสนา
ศาสนาศาสนาฮินดู
เขตอำเภอปูเณ
เทพพระคณบดี
หน่วยงานกำกับดูแลศรีมันตะ ทคฑูเศฐะ หลวาลี สรรวชนิก คณปตี ทรัสต์
ที่ตั้ง
ที่ตั้งปูเณ
รัฐรัฐมหาราษฏระ
ประเทศประเทศอินเดีย
ทคฑูเศฐะหลวาอีคณปตีมนเทียรตั้งอยู่ในรัฐมหาราษฏระ
ทคฑูเศฐะหลวาอีคณปตีมนเทียร
ที่ตั้งในรัฐมหาราษฏระ
ทคฑูเศฐะหลวาอีคณปตีมนเทียรตั้งอยู่ในประเทศอินเดีย
ทคฑูเศฐะหลวาอีคณปตีมนเทียร
ทคฑูเศฐะหลวาอีคณปตีมนเทียร (ประเทศอินเดีย)
พิกัดภูมิศาสตร์18°30′59″N 73°51′22″E / 18.51639°N 73.85611°E / 18.51639; 73.85611
เว็บไซต์
http://www.dagdushethganpati.com/

ศรีมันตะ ทคฑูเศฐะ หลวาอี คณปตีมนเทียร (มราฐี: श्रीमंत दगडूशेठ हलवाई गणपती; Shreemant Dagadusheth Halwai Ganapati) เป็นมนเทียรในเมืองปูเณสร้างขึ้นเพื่อบูชาพระคณบดี และเป็นหนึ่งในโบสถ์พราหมณ์ที่มีผู้เดินทางมาสักการะมากที่สุดในรัฐมหาราษฏระ ด้วยผู้เดินทางมาสักการะมากกว่าหลักแสนคนทุกปี[1][2] ผู้สรัทธาต่อมนเทียรนี้อย่างมากมีทั้งบุคคลมีชื่อเสียงและมุขยมนตรีแห่งรัฐมหาราษฏระผู้เดินทางมาเข้าร่วมเทศกาลประจำปีความยาวสิบวัน คเณโศตสัพ (Ganeshotsav)[3] คณะกรรมการของมนเทียรได้ขึ้นทะเบียนเทวรูปพระคณบดีองค์ประธานของมนเทียรด้วยมูลค่าประกัน 10 million (140,000 US$)[4] และมนเทียรฉลองอายุเทวรูปครบรอบ 125 ปีไปเมื่อปี 2017[5]

ชื่อของมนเทียรมาจากศรีมันตะ ทคฑูเศฐะ หลวาอี (Shrimant Dagadusheth Halwai)[6] พ่อค้าและหลวาอี (นักทำขนมหวานในภาษามราฐี) ลัทธิลิงคายัต ผู้เดินทางมาจากนันทาคาว (Nandgaon) และมาตั้งรกรากอยู่ในปูเณ ทำธุรกิจขนมหวานจนร่ำรวยและประสบความสำเร็จ

อ้างอิง[แก้]

  1. Zore, Prasanna D (1997). "Pune's Dagedu Sheth Halwai dresses up for Ganeshotsva". Rediff. สืบค้นเมื่อ 4 December 2008.
  2. Zelliot, Eleanor; Maxine Berntsen (1988). The Experience of Hinduism: Essays on Religion in Maharashtra. SUNY Press. p. 104. ISBN 978-0-88706-664-1.
  3. Rabade, Parag (9 July 2007). "Pune leads the community". Deccan Herald. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 November 2008. สืบค้นเมื่อ 4 December 2008.
  4. "Ganesh clears obstacles for women reciting Atharvasheersha". Hindustan Times. 4 กันยายน 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 May 2012. สืบค้นเมื่อ 5 December 2008.
  5. Dagadusheth Halwai Ganapati Temple
  6. Kaka Halwai Website

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]