47 หมีใหญ่ ซี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ดาวตะเภาแก้ว)
47 หมีใหญ่ซี
ดาวเคราะห์นอกระบบ รายชื่อ
ดาวฤกษ์แม่
ดาวฤกษ์ 47 หมีใหญ่
กลุ่มดาว กลุ่มดาวหมีใหญ่
ไรต์แอสเซนชัน (α) 10h 59m 28.0s
เดคลิเนชัน (δ) +40° 25′ 49″
ความส่องสว่างปรากฏ (mV) 5.03
ระยะห่าง45.9 ly
(14.06 pc)
ชนิดสเปกตรัม G1V
มวล (m) 1.08 M
รัศมี (r) 1.172 ± 0.111 R
อุณหภูมิ (T) 5887 ± 3.8 K
ความเป็นโลหะ [Fe/H] 0.04
อายุ 6.03 พันล้านปี
องค์ประกอบวงโคจร
กึ่งแกนเอก(a) 3.6 ± 0.1[1] AU
    ~26 mas
จุดใกล้ที่สุดจากดาวฤกษ์แม่ (q) 3.3+0.4
−0.3
AU
จุดไกลที่สุดจากดาวฤกษ์แม่ (Q) 4.0+0.2
−0.5
AU
ความเยื้องศูนย์กลาง (e) 0.098+0.047
−0.096
[1]
คาบการโคจร(P)2391+100
−70
[1] d
(~6.55 y)
ความเร็ว (υ) 16.5+1.1
−1.0
km/s
มุมของจุดใกล้ที่สุด (ω) 295+114
−160
[1]°
เวลาที่เข้าใกล้ดาวฤกษ์แม่ที่สุด (T0) 2,452,441+628
−825
[1] JD
ครึ่งแอมพลิจูด (K) 7.0 ± 2.3[2] m/s
ลักษณะทางกายภาพ
มวลอย่างต่ำ(m sin i)0.540+0.066
−0.073
[1] MJ
ฟลักซ์การแผ่รังสีของดาว(F)0.115
อุณหภูมิ (T) 152 K
ข้อมูลการค้นพบ
ค้นพบเมื่อ 15 August 2001
19 March 2002 (confirmed)
ค้นพบโดย Fischer,
Butler, and
Marcy et al.
วิธีตรวจจับ Doppler spectroscopy
สถานที่ที่ค้นพบ  สหรัฐ
สถานะการค้นพบ Confirmed
ชื่ออื่น
Taphao Kaew, 47 UMa c,[3] HD 95128 c[4]group="note"</ref>These alternative planetary designations are taken from the alternative designations of the host star, and are used in scientific papers occasionally for some exoplanets (see Milone & Wilson 2008 and Raghavan 2009). The most commonly used star designations are Bayer, Flamsteed, HD, HIP, HR, and Gliese.</ref>
อ้างอิงกับฐานข้อมูลอื่น
สารานุกรม
ดาวเคราะห์นอกระบบ
ข้อมูล
ซิมแบดข้อมูล

47 หมีใหญ่ ซี หรือ ตะเภาแก้ว เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่อยู่ห่างจากโลกประมาณ 46 ปีแสง ตั้งอยู่ในกลุ่มดาว 47 หมีใหญ่ ดาวเคราะห์ดวงนี้ถูกค้นพบที่ตั้งอยู่ในวงโคจรเป็นระยะเวลานานรอบดาวฤกษ์ 47 หมีใหญ่ ใช้เวลาโคจรรอบดาว 6.55 ปี มีมวลน้อยกว่า 0.540 เท่าของดาวพฤหัสบดี

ชื่อ[แก้]

ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2557 สหพันธ์ดาราศาสตร์สากลได้จัดการประกวดชื่อสามัญให้กับดาว 47 หมีใหญ่ ซี เพื่อหาชื่อเฉพาะของดาวเคราะห์นอกระบบและดาวฤกษ์นอกระบบ หลายประเทศส่งชื่อใหม่ ๆ ที่เหมาะสมสำหรับดาวเคราะห์ดวงนี้ ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2558 สหพันธ์ดาราศาสตร์สากลได้ประกาศรายชื่อที่ชนะการประกวดสำหรับดาวเคราะห์ดวงนี้คือ ตะเภาแก้ว ซึ่งเสนอโดยสมาคมดาราศาสตร์ไทย ตะเภาแก้วเป็นหนึ่งในสองพี่สาวจากนิทานพื้นบ้านไทย

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 P. C. Gregory; D. A. Fischer (2010). "A Bayesian periodogram finds evidence for three planets in 47 Ursae Majoris". Monthly Notices of the Royal Astronomical Society. 403 (2): 731. arXiv:1003.5549. Bibcode:2010MNRAS.403..731G. doi:10.1111/j.1365-2966.2009.16233.x.
  2. "Planets Table". Catalog of Nearby Exoplanets. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 September 2008. สืบค้นเมื่อ 2008-10-04.
  3. D. Raghavan (2009). "A Survey of Stellar Families: Multiplicity of Solar-type Stars" (PDF). PhD Thesis. Georgia State University: 224–226.
  4. E. F. Milone; W. J. F. Wilson (2008). Solar System Astrophysics: Planetary Atmospheres and the Outer Solar. Solar System Astrophysics. Vol. 2. Springer. pp. xv, 328, 339, 349. ISBN 0-387-73153-9.