ข้ามไปเนื้อหา

ซิสพลาติน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ซิสพลาติน
ข้อมูลทางคลินิก
ชื่อทางการค้าPlatinol, others
ชื่ออื่นcisplatinum, platamin, neoplatin, cismaplat, cis-diamminedichloridoplatinum(II) (CDDP)
AHFS/Drugs.comโมโนกราฟ
MedlinePlusa684036
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์
  • US: D (มีความเสี่ยง)
ช่องทางการรับยาการฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
รหัส ATC
กฏหมาย
สถานะตามกฏหมาย
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
ชีวประสิทธิผล100% (IV)
การจับกับโปรตีน> 95%
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ30–100 ชั่วโมง
การขับออกไต
ตัวบ่งชี้
  • (SP-4-2)-diamminedichloroplatinum(II)
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
DrugBank
ChemSpider
UNII
KEGG
ChEBI
ChEMBL
PDB ligand
ECHA InfoCard100.036.106
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตร[Pt(NH3)2Cl2]
มวลต่อโมล300.01 g/mol
แบบจำลอง 3D (JSmol)
  • [NH3+][Pt-2]([NH3+])(Cl)Cl
  • InChI=1S/2ClH.2H3N.Pt/h2*1H;2*1H3;/q;;;;+2/p-2 checkY
  • Key:LXZZYRPGZAFOLE-UHFFFAOYSA-L checkY
  7checkY (what is this?)  (verify)
สารานุกรมเภสัชกรรม

ซิสพลาติน (Cisplatin) หรือชื่อในอดีตคือ เกลือเปรอน (Peyrone's salt)[1] เป็นยาเคมีบำบัด ออกฤทธิโดยไปยับยั้งการจำลองตัวเองของดีเอ็นเอ[2] ใช้ในการรักษาโรงมะเร็งต่างๆ คือ มะเร็งอัณฑะ, มะเร็งรังไข่, มะเร็งเต้านม, มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ, มะเร็งศีรษะและคอ, มะเร็งปากมดลูก, มะเร็งปอด, มีโซธีลิโอมา, มะเร็งหลอดอาหาร, เนื้องอกที่สมอง และ นิวโรบลาสโตมา สามารถรับยานี้ได้โดยการฉีดเข้าหลอดเลือดดำ[2]

อาการข้างเคียงจากการใช้ยาซิสพลาตินได้แก่ เกิดการกดไขกระดูก, ได้ยินไม่ชัด, ปัญหาเกี่ยวกับไต และ อาเจียน อาหารข้างเคียงระดับรุนแรงได้แก่ อาการชา, เดินลำบาก, ภูมิแพ้ และเป็นโรคระบบหัวใจหลอดเลือด สตรีมีครรภ์ควรหลีกเลี่ยงการใช้ยานี้

ซิสพลาตินถูกค้นพบในปี ค.ศ. 1845 โดยนักเคมีชาวอิตาลีนามว่า มิเกลเล เปรอน ได้รับการอนุญาตให้ใช้เป็นยาในปี ค.ศ. 1978[3][2] เป็นหนึ่งในยาที่ถูกขึ้นทะเบียนเป็นยาหลักขององค์การอนามัยโลก[4]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Peyrone, M. (1844). "Ueber die Einwirkung des Ammoniaks auf Platinchlorür" [On the action of ammonia on platinum chloride]. Ann. Chem. Pharm. 51 (1): 1–29. doi:10.1002/jlac.18440510102.
  2. 2.0 2.1 2.2 "Cisplatin". The American Society of Health-System Pharmacists. สืบค้นเมื่อ 8 December 2016.
  3. Fischer, Janos; Ganellin, C. Robin (2006). Analogue-based Drug Discovery (ภาษาอังกฤษ). John Wiley & Sons. p. 513. ISBN 9783527607495.
  4. "WHO Model List of Essential Medicines (19th List)" (PDF). World Health Organization. April 2015. สืบค้นเมื่อ 8 December 2016.