ชัชวาลย์ สุขสมจิตร์
หน้าตา
บทความชีวประวัตินี้เขียนเหมือนประวัติสมัครงาน |
บทความนี้ต้องการการจัดหน้า จัดหมวดหมู่ ใส่ลิงก์ภายใน หรือเก็บกวาดเนื้อหา ให้มีคุณภาพดีขึ้น คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้ป้ายข้อความอื่นเพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง |
ชัชวาลย์ สุขสมจิตร์ | |
---|---|
สมาชิกวุฒิสภา[1] | |
ดำรงตำแหน่ง 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 – 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2567 | |
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ | |
ดำรงตำแหน่ง 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 – 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 | |
ปลัดกระทรวงยุติธรรม | |
ดำรงตำแหน่ง 30 ตุลาคม พ.ศ. 2557 – 30 กันยายน พ.ศ. 2558 | |
รัฐมนตรีว่าการ | พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา |
ก่อนหน้า | กิตติพงษ์ กิตยารักษ์ |
ถัดไป | ชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ |
อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ | |
ดำรงตำแหน่ง 27 มิถุนายน – 30 กันยายน พ.ศ. 2557 | |
ก่อนหน้า | ธาริต เพ็งดิษฐ์ |
ถัดไป | สุวณา สุวรรณจูฑะ |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 24 ตุลาคม พ.ศ. 2497 |
ศิษย์เก่า | โรงเรียนนายร้อยตำรวจ รุ่นที่ 30 |
ชื่อเล่น | เปี๊ยก |
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง | |
รับใช้ | สำนักงานตำรวจแห่งชาติ กระทรวงยุติธรรม |
ประจำการ | สำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2520 – 2557 กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2557 - 2558 |
ยศ | พลตำรวจเอก |
พลตำรวจเอก ชัชวาลย์ สุขสมจิตร์ (เกิด 24 ตุลาคม 2497) เป็นสมาชิกวุฒิสภาไทย ชุดที่ 12 อาจารย์พิเศษประจำ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์[2]อดีตนายตำรวจราชองครักษ์พิเศษ[3] อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม[4] อดีตอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ[5]อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ[6]
ประวัติ
[แก้]พลตำรวจเอก ชัชวาลย์ สุขสมจิตร์ เกิดเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2497 ที่อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นนักเรียนนายร้อยตำรวจรุ่นที่ 30 (นรต.30)
การศึกษา
[แก้]- รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต โรงเรียนนายร้อยตำรวจ
- รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การอบรมและสัมนา
- การบริหารตำรวจชั้นสูง
- การป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.)
- การบริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง
- นักบริหารการยุติธรรมทางปกครองระดับสูง
วิทยาการประกันภัยระดับสูง (วอส.)[7]
การทำงาน
[แก้]พลตำรวจเอก ชัชวาลย์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญดังนี้
- พ.ศ. 2548 - รองผู้บัญชาการตำรวจนครบาล
- พ.ศ. 2549 - รองผู้บัญชาการสำนักงานกฎหมายและสอบสวน[8]
- พ.ศ. 2550 - ผู้บัญชาการสำนักงานกฎหมายและสอบสวน
- พ.ศ. 2551 - ผู้บัญชาการสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง[9]
- พ.ศ. 2552 - ผู้บัญชาการศึกษา[10]
- พ.ศ. 2553 - ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ[11]
- พ.ศ. 2555 - ที่ปรึกษา(สบ.10)[12]
- พ.ศ. 2556- รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ[13]
- พ.ศ. 2557 - อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ
- พ.ศ. 2557 - ปลัดกระทรวงยุติธรรม
ตำแหน่งและหน้าที่อื่นๆ
[แก้]- 31 ก.ค. 2557 - สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ(สนช.)
- 5 ก.ค. 2560 - คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านกระบวนการยุติธรรม (ตำรวจ)[14]
- 12 พ.ค. 2562 - สมาชิกวุฒิสภาไทย ชุดที่ 12
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
[แก้]- พ.ศ. 2555 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[15]
- พ.ศ. 2550 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[16]
- พ.ศ. 2534 – เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.)[17]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ ราชกิจจานุเบกษา,พระบรมราชโองการ ประกาศแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภา หน้า ๒ เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๒๑ ง,๑๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒
- ↑ "รายชื่ออาจารย์พิเศษ". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-10-16. สืบค้นเมื่อ 2019-10-16.
- ↑ ประกาศแต่งตั้งนายตำรวจราชองครักษ์พิเศษ
- ↑ ประกาศแต่งตั้งปลัดกระทรวงยุติธรรม
- ↑ คสช.ย้ายปลัดกระทรวง-บิ๊กขรก.ล็อตใหญ่
- ↑ พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
- ↑ ข้อมูลการศึกษา
- ↑ รองผู้บัญชาการสำนักงานกฎหมายและสอบสวน
- ↑ ผู้บัญชาการสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง
- ↑ ผู้บัญชาการศึกษา
- ↑ ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
- ↑ ที่ปรึกษา(สบ.10)
- ↑ รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
- ↑ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านกระบวนการยุติธรรม (ตำรวจ)
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๕๕ เก็บถาวร 2013-10-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๒๙ ตอนที่ ๓๕ ข หน้า ๔, ๓ ธันวาคม ๒๕๕๕
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย เก็บถาวร 2010-10-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๑๘ ข หน้า ๑๙, ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๑๐๙ ตอนที่ ๗๖ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๔๐, ๑๐ มิถุนายน ๒๕๓๕