ชวาหะร์ลาล เนห์รู

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ชวาหรลาล เนห์รู)
ชวาหะร์ลาล เนห์รู
ประธานมนตรีอินเดีย คนที่ 1
ดำรงตำแหน่ง
15 สิงหาคม 1947 – 27 พฤษภาคม 1964
ประธานาธิบดีราเชนทร์ ปรสาท
สรวปัลลี ราธากฤษณัน
ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์หลุยส์ เมานต์แบ็ทแตน
C. Rajagopalachari
ก่อนหน้าตั้งตำแหน่งใหม่
ถัดไปGulzarilal Nanda (รักษาการ)
รัฐมนตรีกระทรวงกิจการต่างประเทศแห่งอินเดีย
ดำรงตำแหน่ง
15 สิงหาคม 1947 – 27 พฤษภาคม 1964
ก่อนหน้าตั้งตำแหน่งใหม่
ถัดไปGulzarilal Nanda
รัฐฐมนตรีกระทรวงการคลังแห่งอินเดีย
ดำรงตำแหน่ง
8 ตุลาคม 1958 – 17 พฤศจิกายน 1959
ก่อนหน้าT. T. Krishnamachari
ถัดไปMorarji Desai
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1889(1889-11-14)
อัลลอฮาบาด, สหมณฑลแห่งอัคราและอุธ, บริติชอินเดีย
เสียชีวิต27 พฤษภาคม ค.ศ. 1964(1964-05-27) (74 ปี)
นิวเดลี, อินเดีย
เชื้อชาติอินเดีย
ศาสนาอเทวนิยม[1][2][3]
พรรคการเมืองพรรคคองเกรสอินเดีย
คู่สมรสกมลา เนห์รู
บุตรอินทิรา คานธี
ศิษย์เก่าTrinity College, Cambridge
วิชาชีพทนายความ
ลายมือชื่อ

ชวาหะร์ลาล เนห์รู (ฮินดี: जवाहरलाल नेहरू, ชวาหรลาล เนหรู; อักษรโรมัน: Jawaharlal Nehru; 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1889 – 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1964[4]) รัฐบุรุษของอินเดีย และประธานมนตรีคนแรก หลังได้รับเอกราชจากอังกฤษ ดำรงตำแหน่งเป็นเวลา 17 ปี ตั้งแต่ ค.ศ. 1947 จนกระทั่งถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่งเมื่อ ค.ศ. 1964

ชวาหะร์ลาล เนห์รู เป็นผู้ใกล้ชิด และร่วมเรียกร้องเอกราชให้กับอินเดียร่วมกับมหาตมา คานธี และมักมีบทบาทโดดเด่นขึ้นจนได้รับสืบทอดเป็นทายาททางการเมือง โดยรับตำแหน่งประธานพรรคคองเกรสอินเดียสืบต่อจากคานธี

ในปี ค.ศ. 1955 เนห์รู เป็นบุคคลหลักที่ร่วมก่อตั้งขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด (Non-Aligned Movement - NAM) [5]

ชวาหะร์ลาล เนห์รู สมรสกับนางกมลา คาอุล มีบุตรสาวคนเดียวคือ อินทิรา เนห์รู มีหลานชายชื่อ ราชีพ คานธี บุคคลทั้งสามล้วนเป็นประธานมนตรีของอินเดีย

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "The Montreal Gazette". Google News Archive. 9 June 1964. p. 4.
  2. Ramachandra Guha (September 23, 2003). "Inter-faith Harmony: Where Nehru and Gandhi Meet Times of India".
  3. In Jawaharlal Nehru's autobiography, An Autobiography (1936), and in the Last Will & Testament of Jawaharlal Nehru, in Selected Works of Jawaharlal Nehru, 2nd series, vol. 26, p. 612,
  4. Marlay, Ross (1999). Patriots and Tyrants: Ten Asian Leaders. Rowman & Littlefield. p. 368. ISBN 0847684423. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  5. กลุ่มประเทศไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด[ลิงก์เสีย]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]