ฉบับร่าง:มนตราตะเกียงแก้ว

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
  • ความคิดเห็น: ส่งซ้ำหลายรอบ ไม่ได้แก้ไข Sry85 (คุย) 14:10, 20 พฤศจิกายน 2566 (+07)
  • ความคิดเห็น: ไม่ได้แก้ไข Sry85 (คุย) 13:24, 2 พฤศจิกายน 2566 (+07)
  • ความคิดเห็น: ติดปัญหาเดิม Sry85 (คุย) 15:40, 30 ตุลาคม 2566 (+07)
  • ความคิดเห็น: เห็นชัดว่ามีปัญหาการอ้างอิง สังเกตุได้จากส่วนเรื่องย่อ อ้างอิงท้ายประโยคไม่ได้ใช้อ้างอิงจริง Sry85 (คุย) 11:35, 27 ตุลาคม 2566 (+07)

มนตราตะเกียงแก้ว
ประเภทโรแมนติก แฟนตาซี
สร้างโดยดีด้า วิดีโอ โปรดักชั่น
เขียนโดยบทประพันธ์ : โสภี พรรณราย
บทโทรทัศน์ : ชมนาด
กำกับโดยแดง บูรพา
แสดงนำเกียรติภูมิ บันลือชัยฤทธิ์
ณัฐชา รัตน์ชยางคานนท์
จักรภัทร อังศุธนมาลี
เฌอลีนน์ สตาฟฟี่
ดวงดาว จารุจินดา
อัครัช จิตตะศิริ
อิงฟ้า เกตุคำ
บัณฑิตา ฐานวิเศษ
ดนตรีแก่นเรื่องเปิด"ตะเกียงอยู่ไหน"-แคทรียา อิงลิช
ดนตรีแก่นเรื่องปิด"ตะเกียงอยู่ไหน"-แคทรียา อิงลิช
ประเทศแหล่งกำเนิดไทย ประเทศไทย
ภาษาต้นฉบับไทย ไทย
จำนวนตอน30 ตอน
การผลิต
ผู้อำนวยการผลิตคณะกรรมการพิจารณาการผลิตละครโทรทัศน์
ผู้อำนวยการสร้างสยม สังวริบุตร
นุสรา สังวริบุตร
อาภานุช สังวริบุตร
สถานที่ถ่ายทำไทย ประเทศไทย
ความยาวตอน55 นาที
ออกอากาศ
เครือข่ายช่อง 7 เอชดี
ออกอากาศ27 กันยายน 2566 –
7 พฤศจิกายน 2566

มนตราตะเกียงแก้ว เป็นละครโทรทัศน์ไทยแนวโรแมนติก-แฟนตาซี ภาคที่ 5 ของละครชุดสาวน้อยในตะเกียงแก้ว ผลิตโดยบริษัท ดีด้า วิดีโอ โปรดักชั่น[1] บทประพันธ์โดย โสภี พรรณราย บทโทรทัศน์โดย ชมนาด กำกับการแสดงโดย แดง บูรพา ออกอากาศทุกวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 18.45 น. เริ่มตอนแรกวันพุธที่ 27 กันยายน 2566[2] และตั้งแต่วันอังคารที่ 10 ตุลาคม 2566 เปลี่ยนเวลาออกอากาศมาเป็น 19.00 น.[3]

งานสร้าง[แก้]

หลังจากละครสาวน้อยในตะเกียงแก้ว ออกอากาศในพ.ศ. 2545 ได้รับความประสบสำเร็จจากผู้ชมอย่างล้นหลาม ทางช่อง 7 เอชดี ผู้จัดบริษัท ดีด้า วิดีโอ โปรดักชั่น รวมทั้งนักเขียนนวนิยายชื่อดัง โสภี พรรณราย จึงได้สร้างละครภาคต่อขึ้นมาอีก 4 ภาคอาทิ สาวน้อยในตะเกียงแก้ว 2 แม่มดน้อยตัวป่วน , อสูรน้อยในตะเกียงแก้ว , พ่อมดเจ้าเสน่ห์ และภาคสุดท้าย มนตราตะเกียงแก้ว[4] ซึ่งภาคนี้ได้กลายมาเป็นละครก่อนข่าวภาคค่ำ ออกอากาศในพ.ศ. 2566

นักแสดง[แก้]

ปี พ.ศ. 2566
สถานีที่ออกอากาศ ช่อง 7HD
ผลิตโดย บริษัท ดีด้า วิดีโอ โปรดักชั่น
บทประพันธ์ โสภี พรรณราย
บทโทรทัศน์ ชมนาด
กำกับการแสดง แดง บูรพา
บทบาท นักแสดงหลัก
พ่อมดวิล เกียรติภูมิ บันลือชัยฤทธิ์
เรนี่ ดำรงอิทธิ / แม่มดเรนี่ ณัฐชา รัตน์ชยางคานนท์
พ่อมดเปเลส / เปรม จักรภัทร อังศุธนมาลี
แม่มดเซลิน่า เฌอลีนน์ สตาฟฟี่
บทบาท นักแสดงสมทบ
แม่มดทาฮิร่า ดวงดาว จารุจินดา
ชิกเก้น คูณพสิล จารุจินดา (พากย์เสียง)
พ่อมดไรอัน อัครัช จิตตะศิริ
เกศรา ดำรงอิทธิ อิงฟ้า เกตุคำ
แม่มดอีเวอลีน บัณฑิตา ฐานวิเศษ
บงกช ดำรงอิทธิ ธัญสินี พรมสุทธิ์
พ่อมดฮูโก นวพล ภูวดล
รณชัย วรนาท พลพจน์ พูลนิล
จักรภพ วรนาท พสธร ทรงถาวรทวี
อำนวย ดำรงอิทธิ มนตรี เจนอักษร
แม่มดมอร่า ณหทัย พิจิตรา
ยุวดี ดำรงอิทธิ ณัฏฐริณีย์ กรรณสูต
วรชัย วรนาท ทนงศักดิ์ ศุภการ
สุมิต ดำรงอิทธิ กัณพล ปรีดามาโนช
อแมนด้า / รีด้า วาณิสรา เพิ่มอุดมทรัพย์
วิชา ดำรงอิทธิ สุพศิน แสงรัตนทองคำ
ทัศวรรณ วรนาท อรศศิพัชร์ มามีเกตุรัตน์
คัทรียา วรนาท เนตรนภา ศรีดาหลง
แม่มดคาน่า อิสรีย์ ธรรมชินพันธุ์
แม่มดคาร่า พจนีย์ ใยละออ
แม่มดคาเมล ฐณัฐอร ศรีจันทร์สง่า
กิ่ง ลัลลดา แก้วยอดครู
บทบาท นักแสดงรับเชิญ
พ่อมดโอบิ / พ่อมดโอมิ / พ่อมดโอชิ ธนิศ แก้วนาค
พ่อมดอาคม การุณ บุญสงค์
ชบา พกายวรรณ เวชกามา
พ่อมดวิล (วัยเด็ก) ด.ช.กิตติภูมิ อินกานา
เกศรา (วัยเด็ก) ด.ญ.ฮันนาห์ เนตรเนรมิตร
แม่มดโซฟี ณัฐวดี สมบุญญฤทธิ์

เพลงประกอบละคร[แก้]

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]