จิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา
หน้าตา
บทความนี้ได้รับแจ้งให้ปรับปรุงหลายข้อ กรุณาช่วยปรับปรุงบทความ หรืออภิปรายปัญหาที่หน้าอภิปราย
|
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา (15 มีนาคม พ.ศ. 2484) เป็นราชบัณฑิต[1]ประเภทวิชาวรรณศิลป์สาขาวิชาตันติภาษา สำนักศิลปกรรม นักวิชาการผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาบาลี สันสกฤต และฮินดี แห่งคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร และเป็นอาจารย์พิเศษให้กับหลายสถาบัน
ตำแหน่งปัจจุบัน
[แก้]- ราชบัณฑิตประเภทวรรณศิลป์ สาขาตันติภาษา
- ที่ปรึกษาศูนย์สันสกฤตศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพมหานคร
- ที่ปรึกษาศูนย์ภารตะและอุษาคเนย์ศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
ตำแหน่งในอดีต
[แก้]- หัวหน้าภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
- ผู้อำนวยการศูนย์สันสกฤตศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร
คุณสมบัติทางการศึกษา
[แก้]- สำเร็จปริญญาบัณฑิต (โบราณคดี) จากมหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพฯ พ.ศ. 2506
- ปริญญามหาบัณฑิต (สันสกฤต) จากมหาวิทยาลัยบาโรดา ประเทศอินเดีย พ.ศ. 2513
- สำเร็จปริญญาดุษฎีบัณฑิต (สันสกฤต) จากมหาวิทยาลัยบาโรดา ประเทศอินเดีย พ.ศ. 2518
- วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก : ธรรมารันยะ : การศึกษาทางวัฒนธรรม
สาขาที่เชี่ยวชาญ
[แก้]ปรัชญาอินเดีย พระพุทธศาสนา ภาษาสันสกฤต ภาษาบาลี และภาษาฮินดี
บทความและหนังสือที่พิมพ์เผยแพร่
[แก้]มีผลงานการแปลทั้งด้านภาษาสันสกฤต และฮินดี
ภาษาไทย
[แก้]- แปลจากภาษาอังกฤษเป็นไทย : "อินเดีย : ดินแดนแห่งพระพุทธองค์" โดย Chaya Hasner. กรุงเทพฯ : Media Trans Asia, 2530.
- แนวความคิดทางด้านปรัชญาในมหาภารตะ : ความสัมพันธ์ต่อวัฒนธรรมไทย, บทความเสนอต่อการประชุมวิชาการ จัดโดยคณะศิลปศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วันที่ 25 -26 ตุลาคม พ.ศ. 2533 ในโอกาสครบ 36 พรรษาสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี
- "แนวความคิดบางประการที่ย่อมาจากวรรณคดีสันสกฤต" ในโอกาสครบรอบ 12 ปี ( พ.ศ. 2515-2527) ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2537.
ภาษาอังกฤษ
[แก้]- "The Sab Bak Inscription, Evidence of an Early Vajrayana Buddhist Present in Thailand" in The Journal of the Siam Society, Volume 78, Part 2, 1990.
- "Thapsiam Inscription" in Felicitation Volume for Prof. Dr.Prasert Na Nagara on the Occasion of his 80th Birth Anniversary. Bangkok: Phikhanet Printing Center Co., LTD, 1999.
- "The Gandharvas in Art and Literature of Thailand" in the Felicitation Volume for Prof. M.C. Subhadradis Diskul on the Occasion of his 72nd Birth Anniversary.
- "Brahmanism and Buddhism as Recorded in the Inscriptions of Sukhothai Period, 1826-2092 B.E. (1283-1549 A.D.)" in The Proceedings of the International Seminar on Buddhism and Brahmanism in Thailand, August19-21, 1994 published by Phragru Vamadevamuni, Thevasthan, Bangkok, 1996.
- "Buddhist Philosophical Thoughts as Recorded in Early Inscriptions found in Thailand", a Paper Presented at the Regional Seminar on Buddhist Route in Thailand and Its Neighboring Countries, from August 26-30, 1998.
- "Brahmanism in Thailand" in India Studies Journal, November 4, 1999. Bangkok: India Studies Centre, Thammasat University, 1999.
- "Hindi in Thailand, Past, Present and Future", A Paper Presented at the VI World Hindi Conference 14-18 September, 1999, at School of Oriental and African Studies University of London, U.K.
- "The Influence of the Mahabharata in Thailand", A Paper Presented at the First International Conference -Seminar on Ramayana and Mahabharata 21-24 October, 1999, University of Malaysia, Kuala Lumpur, Malaysia.
- "Vajrayana in Thailand from Architectural, Iconographical and Inscription Evidences and its Relation to India", A Paper Presented at the XI World Sanskrit Conference, April 4-8, 2000, at CESMEO, Turin, Italy.
- "Jataka Elements in the Ramayana", A Paper Presented a the IXth International Ramayana Conference, Kern Institute, Leiden University, the Netherlands in 1995.
- 11."Buddhism as Recorded in the Early Inscriptions Found in Thailand", A Paper Presented at 35th International Congress of Asian and North African Studies (ICANAS), Budapest, 7-12 July 1997, Hangary.
- "Indic Origin of Some Obscure Thai Words", A Paper Presented at the 6th International Conference on Thai Studies, Chiang Mai, Thailand, 14-17 October, 1996.
- "Thai-Ization of Sanskrit: A Historical Perspective" A Paper Presented at the Seminar on India-Thai Cultural Relations, New Delhi (August 21, 1997).
- "The Influence of the Mahabharata in Thailand, a Paper Presented at the 1st International Conference-Seminar on Ramayana and Mahabharata, organized by University of Malaya, Kuala Lumpur, Malaysia, from October 21-24, 1999.
- "The Common Elements for Ethical Teaching in the Mahabharata and Buddhist Literature, a Paper Presented at the 2nd International Conference-Seminar on Ramayana and Mahabharata, organized by Udayana University, Bali, Indonesia, from September 13-15, 2000.
- "The Obscure Indic Origin of Some Thai Words", a paper presented at a Seminar organized by India Studies Centre, Thammasat University, Bangkok, on October 1, 2000.
- "Aspects of Hanuman in Thai Life", a paper presented at the 17th International Ramayana Conference, organized by India Studies Centre, Thammasat University, Bangkok, from November 29 to December 1, 2000.
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
[แก้]- พ.ศ. 2534 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นที่ 2 ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.)[2]
- พ.ศ. 2530 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นที่ 2 ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย (ท.ม.)[3]
- พ.ศ. 2534 – เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.)[4]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งราชบัณฑิต
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2022-08-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๐๙ ตอนที่ ๗๖ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๕๔, ๑๐ มิถุนายน ๒๕๓๕
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2022-12-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๐๔ ตอนที่ ๒๕๖ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๕๖, ๙ ธันวาคม ๒๕๓๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2022-04-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๐๙ ตอนที่ ๗๖ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๔๘๑, ๑๐ มิถุนายน ๒๕๓๕