ข้ามไปเนื้อหา

คาซีปุระ

พิกัด: 25°35′N 83°34′E / 25.58°N 83.57°E / 25.58; 83.57
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก กาซิปุระ)
คาซีปุระ

นครของ Nawab Sheikh Abdullah
นคร
yes
สุสานลอร์ดคอร์แวลลิส ข้าหลวงแห่งเบงกอล
สมญา: 
นครของผู้พลีชีพ
คาซีปุระตั้งอยู่ในรัฐอุตตรประเทศ
คาซีปุระ
คาซีปุระ
สถานที่ตั้งในรัฐอุตตรประเทศ อินเดีย
คาซีปุระตั้งอยู่ในประเทศอินเดีย
คาซีปุระ
คาซีปุระ
คาซีปุระ (ประเทศอินเดีย)
พิกัด: 25°35′N 83°34′E / 25.58°N 83.57°E / 25.58; 83.57
ประเทศ อินเดีย
รัฐอุตตรประเทศ
อำเภอคาซีปุระ
ตั้งถิ่นฐาน350–400 ปีก่อนคริสต์ศักราช
ก่อตั้งค.ศ. 1330
รวมตัวอย่างเป็นทางการค.ศ. 1820
ผู้ก่อตั้งSayyaid Masud Ghazi
การปกครอง
 • ประเภทสภาเทศบาล
 • องค์กรสภาเทศบาลคาซีปุระ
 • ประธานSarita Agrawal
พื้นที่
 • ทั้งหมด36.6 ตร.กม. (14.1 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2011)
 • ทั้งหมด110,587[1] คน
 • อันดับ391
 • อัตราส่วนเพศ902 /
ภาษา
 • ทางการฮินดีและอูรดู
 • ภุมิภาคโภชปุรี
เขตเวลาUTC+5:30 (เวลามาตรฐานอินเดีย)
รหัสไปรษณีย์233001
รหัสโปรศัพท์91-548
ทะเบียนพาหนะUP-61
เว็บไซต์www.ghazipur.nic.in

คาซีปุระ (ฮินดี: ग़ाज़ीपुर; อังกฤษ: Ghazipur หรือเดิมสะกดว่า Ghazeepore, Gauspur และ Ghazipour) เป็นนครในรัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย

คาซีปุระเป็นที่รู้จักจากโรงงานฝิ่นที่ก่อตั้งขึ้นโดยบริษัทอินเดียตะวันออกเมื่อปี ค.ศ. 1820 และยังคงเป็นโรงงานฝิ่นที่ถูกกฎหมายที่ใหญ่ที่สุดของโลก โดยผลิตยาสำหรับในอุตสาหกรรมเภสัชภัณฑ์ระดับโลก[2] คาซีปุระตั้งอยู่ใกล้เขตแดนรัฐอุตตรประเทศ-รัฐพิหาร ราว 80 กิโลเมตรทางทิศตะวันตกของพาราณสี และราว 50 กิโลเมตรของเมืองบักซาร์ (Buxar) ซึ่งเป็นทางเข้าของรัฐพิหาร

ภูมิศาสตร์

[แก้]

คาซีปุระตั้งอยู่ที่จุดพิกัด 25°35′N 83°34′E / 25.58°N 83.57°E / 25.58; 83.57[3] อยู่เหนือจากระดับน้ำทะเลโดยเฉลี่ย 62 เมตร

ประชากร

[แก้]

จากการสำรวจสำมะโนประชากรอินเดียปี ค.ศ. 2011[4] คาซีปุระมีประชากร 110,698 คน โดยเป็นชาย 58,126 คน และเป็นหญิง 52,572 คน หรือคิดเป็นชายร้อยละ 52.5 ของประชากร และเป็นหญิงร้อยละ 47.5 ของประชากร เมืองคาซีปุระมีค่าเฉลี่ยคนรู้หนังสือร้อยละ 85.46 สูงกว่าค่าเฉลี่ยของทั้งประเทศที่ร้อยละ 74.04 โดยประชากรชายรู้หนังสือร้อยละ 90.61 และประชากรหญิงรู้หนังสือร้อยละ 79.79

ศาสนาในเมืองคาซีปุระ[5]
ศาสนา ร้อยละ
ฮินดู
  
72.33%
อิสลาม
  
26.77%
คริสต์
  
0.32%
ซิกข์
  
0.11%
อื่น ๆ†
  
0.47%
จำนวนผู้นับถือศาสนา
รวมศาสนาพุทธ (<0.2%).

ภูมิอากาศ

[แก้]
ข้อมูลภูมิอากาศของคาซีปุระ (ค.ศ. 1981–2010, สูงสุดใน ค.ศ. 1978–2012)
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 30.6
(87.1)
34.1
(93.4)
40.1
(104.2)
45.1
(113.2)
46.1
(115)
46.4
(115.5)
43.2
(109.8)
37.2
(99)
37.6
(99.7)
36.0
(96.8)
34.0
(93.2)
30.8
(87.4)
46.4
(115.5)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 21.4
(70.5)
25.4
(77.7)
31.5
(88.7)
37.6
(99.7)
38.7
(101.7)
37.0
(98.6)
33.0
(91.4)
32.3
(90.1)
31.9
(89.4)
30.9
(87.6)
27.6
(81.7)
23.4
(74.1)
30.9
(87.6)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 7.2
(45)
10.0
(50)
14.2
(57.6)
19.8
(67.6)
23.5
(74.3)
25.0
(77)
24.4
(75.9)
24.1
(75.4)
23.2
(73.8)
19.0
(66.2)
13.0
(55.4)
8.6
(47.5)
17.7
(63.9)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) -0.5
(31.1)
3.5
(38.3)
6.2
(43.2)
11.0
(51.8)
16.0
(60.8)
19.5
(67.1)
20.0
(68)
19.0
(66.2)
18.2
(64.8)
10.0
(50)
5.7
(42.3)
1.5
(34.7)
−0.5
(31.1)
ปริมาณฝน มม (นิ้ว) 13.9
(0.547)
15.7
(0.618)
7.2
(0.283)
6.6
(0.26)
23.2
(0.913)
106.7
(4.201)
306.9
(12.083)
278.8
(10.976)
215.9
(8.5)
27.2
(1.071)
7.5
(0.295)
4.4
(0.173)
1,014.1
(39.925)
ความชื้นร้อยละ 69 60 43 29 37 54 76 78 78 71 66 68 61
วันที่มีฝนตกโดยเฉลี่ย 1.5 1.3 0.7 0.5 1.9 6.0 12.7 12.3 8.5 1.9 0.5 0.4 48.2
แหล่งที่มา: India Meteorological Department[6][7]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "2011 census of India".
  2. Paxman, Jeremy (2011). "Chapter 3". Empire:What Ruling the World Did to the British. London: Penguin Books.
  3. "Falling Rain Genomics, Inc - Ghazipur". Fallingrain.com. สืบค้นเมื่อ 2012-04-08.
  4. "Census of India 2001: Data from the 2001 Census, including cities, villages and towns (Provisional)". Census Commission of India. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2004-06-16. สืบค้นเมื่อ 2008-11-01.
  5. "Census 2011 Ghazipur". Census 2011. สืบค้นเมื่อ 7 July 2017.
  6. "Station: Gazipur Climatological Table 1981–2010" (PDF). Climatological Normals 1981–2010. India Meteorological Department. January 2015. pp. 287–288. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 5 February 2020. สืบค้นเมื่อ 6 May 2020.
  7. "Extremes of Temperature & Rainfall for Indian Stations (Up to 2012)" (PDF). India Meteorological Department. December 2016. p. M215. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 5 February 2020. สืบค้นเมื่อ 6 May 2020.