โรงเรียนปายวิทยาคาร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โรงเรียนปายวิทยาคาร
ที่ตั้ง
แผนที่
ข้อมูล
ชื่ออื่นปว. / ปายวิท / PWTK.
ประเภทโรงเรียนรัฐบาล
คำขวัญวิชาการดี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม นำประชาธิปไตย
สถาปนา17 พฤษภาคม พ.ศ. 2510 (56 ปีที่แล้ว)
ผู้ก่อตั้งจรุง ภู่ประเสริฐ
มนัส ทองพันธ์
สถานะเปิดการเรียนการสอน
การกำกับดูแลสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา แม่ฮ่องสอน
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดแม่ฮ่องสอน
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
ภาคเรียน1 และ 2
ผู้อำนวยการปุรเชษฐ์ มธุรส
รักษาการผู้บริหารนราวิชญ์ ใสส่อง
กษมา อุดทาเรือน
หัสดาภรณ์ พรหมคำติ๊บ
คณาจารย์ระวีวรรณ เอกา
ปิยดา ปวงฟู
ศิริวัฒนา แก้วกระจ่าง
ความจุ2,000 คน (โดยประมาณ)
ภาษาที่ใช้เป็นสื่อการสอนภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ
ภาษาจีน
ชั่วโมงเรียน8 ชั่วโมง (ใน 1 วัน)
สี███ แดง ███ ขาว
เพลงมาร์ชปายวิทยาคาร
งบประมาณ13,977 บาท
พ.ศ. 2510

โรงเรียนปายวิทยาคาร (อังกฤษ: Pai Wittayakarn อักษรย่อ; ปว. PWTK. หรือ ปายวิทย์) เป็นโรงเรียน ประเภทโรงเรียนมัธยมขนาดใหญ่แห่งหนึ่งใน อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2510 เนื่องจากในสมัยนั้นการเข้าถึงการศึกษาในช่วงชั้นมัธยมศึกษายากมาก จรุง ภู่ประเสริฐ นายอำเภอปาย และมนัส ทองพันธุ์ เห็นว่าควรมีโรงเรียนมัธยมศึกษาจึงก่อตั้งโรงเรียนนี้ขึ้นมา โดยมี "ดอกเฟื่องฟ้า" เป็นสัญลักษณ์ของโรงเรียน และเครื่องหมายของโรงเรียน และถือเป็นโรงเรียนมัธยมที่มีชื่อเสียงอันดับต้น ๆ ของจังหวัดแม่ฮ่องสอน ในเรื่องของการศึกษาที่มีคุณภาพ

ประวัติ[แก้]

โรงเรียนปายวิทยาคาร ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2510 โดยมี จรุง ภู่ประเสริฐ นายอำเภอปาย และมนัส ทองพันธุ์ กระทรวงศึกษาธิการอำเภอปาย มีความประสงค์จะขยายการศึกษาของอำเภอให้ถึงระดับมัธยมศึกษา เนื่องจากนักเรียนชั้นประถมศึกษาที่จบแล้วจำนวนมากไม่มีโอกาสศึกษาต่อ เพราะขาดแคลนทุนทรัพย์ที่จะเดินทางไปศึกษาต่อที่ไกล ๆ ได้ ในที่สุดก็ได้ร่วมกันระดมทุนและปลูกสร้างอาคารเรียนชั่วคราวขึ้น 1 หลัง รวมเป็นเงิน 13,977 บาท ต่อมากรมสามัญศึกษาได้อนุมัติให้เปิดสอนระดับ ม.ศ. 1 จำนวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียนชาย 12 คน นักเรียนหญิง 23 คน โดยเริ่มทำการสอนครั้งแรก เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2510 โดยมี บุญส่ง บุญเฉลย รักษาการในตำแหน่งครูใหญ่ (หรือที่เรียกกันว่า ผู้อำนวยการโรงเรียน) ณ ขนาดนั้น [1][1]

โรงเรียนปายวิทยาคาร ถือเป็นโรงเรียนเก่าแก่ในอำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ก็ว่าได้ เพราะก่อตั้ง และเปิดในการเรียนการสอนครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2510[2]

สถานที่[แก้]

  • อาคารพวงชมพู (อาคารปูน) มีทั้งหมด 4 ชั้น (รวมด้านล่างสุด)
  • อาคารเฟื่องฟ้า (อาคารไม้) มีทั้งหมด 3 ชั้น (รวมชั้นใต้ดิน)
  • หอประชุมใหญ่พุทธรักษา (หอประชุมใหญ่)
  • อาคารอเนกประสงค์ (หอประชุมเล็ก ที่สร้างทับที่สนามกีฬา)
  • โรงอาหาร
  • ห้องดนตรีไทย
  • ห้องดนตรีสากล
  • ห้องลูกเสือ
  • ห้องกิจการ นักเรียน
  • สนามกีฬา
  • ห้องฝ่ายปกครอง

ภาพ[แก้]

คณะผู้บริหาร[แก้]

ปี พ.ศ. 2567[แก้]

ตำแหน่ง รูป รายนาม วาระตำแหน่ง
ผู้อำนวยการ ปุรเชษฐ์ มธุรส[3] 2565-ปัจจุบัน
รองผู้อำนวยการ คนที่ 1 นราวิชญ์ ใสส่อง 2566-ปัจจุบัน
รองผู้อำนวยการ คนที่ 2 กษมา อุดทาเรือน 2566-ปัจจุบัน
รองผู้อำนวยการ คนที่ 3 หัสดาภรณ์ พรหมคำติ๊บ 2566-ปัจจุบัน

คณะผู้ทรงคุณวุฒิ[แก้]

ปี พ.ศ. 2565[แก้]

ตำแหน่ง รูป รายนาม วาระตำแหน่ง อ้างอิง กลุ่มสาระการเรียนรู้
ผู้ทรงคุณวุฒิ ระวีวรรณ เอกา ? - ปัจจุบัน [4] ศิลปะ และดนตรี
จตุพร สุรินทร์ สังคมศึกษา
ปิยดา ปวงฟู คณิตศาสตร์
ศิริวัฒนา แก้วกระจ่าง สังคมศึกษา

บุคลากร/อาจารย์[แก้]

พ.ศ. 2564[แก้]

  1. อัมพวาร อิตุพร
  2. หัสดาภรณ์ พรหมคำติ๊บ
  3. ระวีวรรณ เอกา
  4. ถนอมศักดิ์ กิตติเลิศภักดีกุล
  5. รจนา พุทธิ
  6. ปิยดา ปวงฟู
  7. ศิริวัฒนา แก้วกระจ่าง
  8. ภิญญาพัชร์ บุญเปง
  9. สุปิยะ ศักดิ์ภิรมย์
  10. พัทยา ยะมะโน
  11. ณัฐพงศ์ หาญพอ
  12. คัทลียา เสาร์แดน
  13. คณิตษา องมล
  14. พิมพ์ลดา ศรีพันธ์
  15. ชุติไชยวัญ พูดงาม
  16. อานนท์ ตื้อจันตา
  17. รินลณี บุญตา
  18. หัตถยาภรณ์ ตุ่งยะ
  19. ภูวดล สุระจินดา
  20. ดวงสุดา เรืองวุฒิ
  21. พิมพ์ประภา เสาสวัสดิ์
  22. ประไพศรี กำแพงแก้ว
  23. ศุทธินี โภธภิพิธ
  24. ธิดารัตน์ วงศ์ใหญ่
  25. จันทนีย์ สารินจา
  26. สว่าง กัณตวิสิฐ
  27. นิพนธ์ วิทยาวาณิตย์
  28. น้ำฟ้า หมื่นบุญตัน
  29. อังคนา คำป้อ
  30. เจนประภา เรือนคำ
  31. เพ็ญศิริ วงค์เทพ
  32. วิพิมพ์สาย หิ่งคำ
  33. อัมพร แสนคำฟู
  34. ณัฐกาญจน์ แก้วสุวรรณ
  35. อาริยา ยอดแฉล้ม
  36. ธันย์ชนก อำพันธุ์
  37. ธนาวัฒน์ นาดี
  38. ณัฐวดี เขียวภูมิชัย
  39. จิรภา พันธ์ธรรม
  40. นิคม แสนฝั้น
  41. ณรงค์ เชียงแก้ว
  42. สิรีธร กันทะยศ
  43. ณรงค์ฤทธิ์ หงษ์อารีย์
  44. Miss Adele Laure Martineau
  45. สุนทร สารคำ
  46. อุดม วรรณวงค์
  47. วิวัฒน์ บุญธรรม
  48. ปทุม จักก่ายี่
  49. ชัชวาล เฟยนาต๊ะ

คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน[5][แก้]

พ.ศ. 2563[แก้]

  1. ชุมพล วิจิตรพร
  2. ธนัชพร อินยา
  3. จเด็จ สุวรรณะ
  4. ประพันธ์ อินถา
  5. เจริญวัฒน์ ทัศน์ศิริ
  6. สุวชาติ แก้วกระจ่าง
  7. สุเทพ กิติสาย
  8. พวงสร้อย อุ่นเมือง
  9. บัวลม ตานันท์
  10. บัวลม ตานันท์
  11. พระมหาสมศักดิ์ สุภเมธี
  12. ระวีวรรณ เอกา
  13. เหม้อมั่น แซ่หลู่
  14. อัครวัฒน์ อรัญภูมิ

รายนามผู้อำนวยการโรงเรียน[แก้]

สภานักเรียน[แก้]

ผลการเลือกตั้งสภานักเรียน[แก้]

พ.ศ. 2567

วันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567 หน่วยเลือกตั้งสภานักเรียนโรงเรียนปายวิทยาคาร ได้ประกาศอย่างเป็นทางการในการเลือกตั้งสภานักเรียนโรงเรียนปายวิทยาคาร ประจำปีการศึกษา 2567 โดยผลคะแนนแต่ละพรรค มีดังนี้

การเลือกตั้งสภานักเรียน โรงเรียนปายวิทยาคาร ประจำปีการศึกษา 2567

เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567

เบอร์ ชื่อพรรค คะแนน อันดับที่
1 พรรคคะวะโต 267 2
2 พรรคคำว่าแร้

(แพ้คำว่ารัก)

683 1
ผลการเลือกตั้งสภานักเรียน
รวม ไม่ประสงค์ลงคะแนน บัตรเสีย
? 82 0
ชนะการเลือกตั้ง
พรรคคำว่าแร้ (แพ้คำว่ารัก)

การเสด็จพระราชดำเนิน[แก้]

สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา ทรงเสด็จพระราชดำเนินมายัง โรงเรียนปายวิทยาคาร ณ หอประชุมใหญ่พุทธรักษา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานฟุตบอล และสิ่งของเกี่ยวกับการดำรงชีวิต ให้แก่นักเรียน บุคลากรการศึกษา และประชาชน

ผลงาน[แก้]

ไม่มีผลงาน

รางวัล/เกียรติยศ[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 http://www.pwtk.ac.th/datashow_36651
  2. "โรงเรียนปายวิทยาคาร". data.bopp-obec.info. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-05-18. สืบค้นเมื่อ 2022-05-18.
  3. "โรงเรียนปายวิทยาคาร". data.bopp-obec.info.[ลิงก์เสีย]
  4. "โรงเรียนปายวิทยาคาร". data.bopp-obec.info. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-05-18. สืบค้นเมื่อ 2022-05-18.
  5. "โรงเรียนปายวิทยาคาร". data.bopp-obec.info. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-05-18. สืบค้นเมื่อ 2022-05-18.