รายชื่อผู้เข้าแข่งขันเทนนิสออสเตรเลียนโอเพนรอบชิงชนะเลิศ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อนักเทนนิสที่เข้าแข่งขันรอบชิงชนะเลิศเทนนิสออสเตรเลียนโอเพน ในยุคโอเพน (ไม่จำกัดว่าเป็นนักกีฬาสมัครเล่น หรือนักกีฬาอาชีพ) นับตั้งแต่ พ.ศ. 2512 จนถึงปัจจุบัน

ประเภทชายเดี่ยว[แก้]

นักกีฬา สัญชาติ เข้าชิง ชนะ-แพ้ ปี
โรเจอร์ เฟเดอเรอร์ ธงของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 5 4-1 2004, 2006, 2007, 2009, 2010
สเตฟาน เอ็ดเบิร์ก ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน 5 2-3 1985, 1987, 1990, 1992, 1993
อันเดร แอกัสซี  สหรัฐ 4 4-0 1995, 2000, 2001, 2003
แมทส์ วิลันเดอร์ ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน 4 3-1 1983, 1984, 1985, 1988
อิวาน เลนเดิล ธงของเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย 4 2-2 1983, 1989, 1990, 1991
จอห์น นิวคอมบี ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 3 2-1 1973, 1975, 1976
กิลเลอร์โม วิลาส ธงของประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 3 2-1 1977(Jan), 1978, 1979
พีท แซมพราส  สหรัฐ 3 2-1 1994, 1995, 1997
มารัต ซาฟิน ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย 3 1-2 2002, 2004, 2005
เคน โรสวอลล์ ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 2 2-0 1971, 1972
โจฮาน ครีค ธงของประเทศแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้ 2 2-0 1981, 1982
บอริส เบกเคอร์ ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี 2 2-0 1991, 1996
จิม คูเรียร์  สหรัฐ 2 2-0 1992, 1993
จิมมี คอนเนอร์ส  สหรัฐ 2 1-1 1974, 1975
เยฟเกนี คาเฟลนิคอฟ ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย 2 1-1 1999, 2000
สตีฟ เดนตัน  สหรัฐ 2 0-2 1981, 1982
แพท แคช ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 2 0-2 1987, 1988
ร็อด เลเวอร์ ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 1 1-0 1969
รอสโค แทนเนอร์  สหรัฐ 1 1-0 1977(Jan)
ไวตัส เกอรูไลทิส  สหรัฐ 1 1-0 1977(Dec)
ไบรอัน ทีชเชอร์  สหรัฐ 1 1-0 1980
ปีเตอร์ คอร์ดา ธงของประเทศเช็กเกีย เช็กเกีย 1 1-0 1998
โทมัส โจฮานสัน ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน 1 1-0 2002
โนวัค ยอโควิช‎ ธงของประเทศเซอร์เบีย เซอร์เบีย 1 1-0 2008
ราฟาเอล นาดาล‎ ธงของประเทศสเปน สเปน 1 1-0 2009
อังเดรอส์ กิเมโน ธงของประเทศสเปน สเปน 1 0-1 1969
ดิก ครีลี ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 1 0-1 1970
ออนนี พารุน ธงของประเทศนิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ 1 0-1 1973
ฟิล เดนท์ ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 1 0-1 1974
จอห์น ลอยด์  สหราชอาณาจักร 1 0-1 1977(Dec)
จอห์น มาร์กส ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 1 0-1 1978
จอห์น ซาดรี  สหรัฐ 1 0-1 1979
คิม วาร์ริก ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 1 0-1 1980
เควิน เคอเรน ธงของประเทศแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้ 1 0-1 1984
มิโลสลาฟ เมซีร์ ธงของเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย 1 0-1 1989
ท็อดด์ มาร์ติน  สหรัฐ 1 0-1 1994
ไมเคิล ชาง  สหรัฐ 1 0-1 1996
คาร์ลอส โมยา ธงของประเทศสเปน สเปน 1 0-1 1997
มาร์เซโล ริออส ธงของประเทศชิลี ชิลี 1 0-1 1998
โทมัส เอนควิสต์ ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน 1 0-1 1999
อาร์โนลด์ เคลมองต์ ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 1 0-1 2001
ไรเนอร์ ชูทเลอร์ ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี 1 0-1 2003
เลย์ตัน ฮิววิตต์ ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 1 0-1 2005
มาร์กอส แบกแดติส ธงของประเทศไซปรัส ไซปรัส 1 0-1 2006
เฟอร์นานโด กอนซาเลส ธงของประเทศชิลี ชิลี 1 0-1 2007
โจ-วิลฟรีด ซองกา ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 1 0-1 2008
แอนดี เมอร์เรย์  สหราชอาณาจักร 1 0-1 2010

ประเภทหญิงเดี่ยว[แก้]

นักกีฬา สัญชาติ เข้าชิง ชนะ-แพ้ ปี
อีวอง กูลากอง ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 7 4-3 1971, 1972, 1973, 1974, 1975, 1976, 1977(Dec)
มาร์ตินา นาฟราติโลวา ธงของเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย
 สหรัฐ
6 3-3 1975, 1981, 1982, 1983, 1985, 1987
มาร์ตินา ฮิงกิส ธงของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 6 3-3 1997, 1998, 1999, 2000, 2001, 2002
คริส เอเวิร์ต  สหรัฐ 6 2-4 1974, 1981, 1982, 1984, 1985, 1988
เซเรนา วิลเลียมส์  สหรัฐ 6 6-0 2003, 2005, 2007, 2009, 2010, 2015
สเตฟฟี กราฟ ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี 5 4-1 1988, 1989, 1990, 1993, 1994
มาร์กาเรต คอร์ต ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 4 4-0 1969, 1970, 1971, 1973
โมนิกา เซเลส ยูโกสลาเวีย 4 4-0 1991, 1992, 1993, 1996
จัสติน เอแนง ธงของประเทศเบลเยียม เบลเยียม 3 1-2 2004, 2006, 2010
มาเรีย ชาราโปวา ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย 3 1-2 2007, 2008, 2015
ฮานา แมนดลิโควา ธงของเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย 2 2-0 1980, 1987
เจนนิเฟอร์ คาปรีอาติ  สหรัฐ 2 2-0 2001, 2002
แมรี เพียร์ซ ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 2 1-1 1995, 1997
อามิลี มอเรสโม ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 2 1-1 1999, 2006
ลินด์เซย์ ดาเวนพอร์ต  สหรัฐ 2 1-1 2000, 2005
เฮเลนา ซูโควา ธงของเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย 2 0-2 1984, 1989
แมรี โจ เฟอร์นานเดซ  สหรัฐ 2 0-2 1990, 1992
อรันต์ซา ซานเชส วิคาริโอ ธงของประเทศสเปน สเปน 2 0-2 1994, 1995
บิลลี จีน คิง  สหรัฐ 1 0-1 1969
แคที จอร์แดน  สหรัฐ 1 0-1 1983
จานา โนวอทนา ธงของเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย 1 0-1 1991
แองเคอ ฮิวเบอร์ ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี 1 0-1 1996
คอนชิตา มาร์ติเนซ ธงของประเทศสเปน สเปน 1 0-1 1998
วีนัส วิลเลียมส์  สหรัฐ 1 0-1 2003
คิม ไคลจ์สเตอร์ส ธงของประเทศเบลเยียม เบลเยียม 2 1-1 2004, 2011
แอนา อิวาโนวิก ธงของประเทศเซอร์เบีย เซอร์เบีย 1 0-1 2008
ดินารา ซาฟินา ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย 1 0-1 2009

ดูเพิ่ม[แก้]