รายชื่อผู้เข้าแข่งขันเทนนิสเฟรนช์โอเพนรอบชิงชนะเลิศ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อนักเทนนิสที่เข้าแข่งขันรอบชิงชนะเลิศเทนนิสเฟรนช์โอเพน ในยุคโอเพน (ไม่จำกัดว่าเป็นนักกีฬาสมัครเล่น หรือนักกีฬาอาชีพ) นับตั้งแต่ พ.ศ. 2511 จนถึงปัจจุบัน

ประเภทชายเดี่ยว[แก้]

นักกีฬา สัญชาติ เข้าชิง ชนะ-แพ้ ปี
ราฟาเอล นาดาล ธงของประเทศสเปน สเปน 14 14-0 2005, 2006, 2007, 2008, 2010, 2011, 2012, 2013, 2014, 2017, 2018, 2019, 2020, 2022
บียอร์น บอร์ก ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน 6 6-0 1974, 1975, 1978, 1979, 1980, 1981
อิวาน เลนเดิล ธงของเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย 5 3-2 1981, 1984, 1985, 1986, 1987
แมทส์ วิลันเดอร์ ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน 5 3-2 1982, 1983, 1985, 1987, 1988
กิลเลอร์โม วิลาส ธงของประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 4 1-3 1975, 1977, 1978, 1982
โรเจอร์ เฟเดอเรอร์ ธงของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 5 1-4 2006, 2007, 2008, 2009 , 2011
กุสตาโว เคอร์เทน ธงของประเทศบราซิล บราซิล 3 3-0 1997, 2000, 2001
ร็อด เลเวอร์ ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 3 2-1 1962, 1968, 1969
จิม คูเรียร์  สหรัฐ 3 2-1 1991, 1992, 1993
เซอร์กี บรูเกอร์รา ธงของประเทศสเปน สเปน 3 2-1 1993, 1994, 1997
อันเดร แอกัสซี  สหรัฐ 3 1-2 1990, 1991, 1999
โนวัค ยอโควิค ธงของประเทศเซอร์เบีย เซอร์เบีย 3 1-2 2012, 2015, 2016
แจน โคเดส ธงของเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย 2 2-0 1970, 1971
เคน โรสวอลล์ ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 2 1-1 1968, 1969
ไอลี นาสตาเซ ธงของประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย 2 1-1 1971, 1973
ไมเคิล ชาง  สหรัฐ 2 1-1 1989, 1995
ควน การ์โลส เฟร์เรโร ธงของประเทศสเปน สเปน 2 1-1 2002, 2003
สตาน วาวรีงกา ธงของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 2 1-1 2015, 2017
อเล็กซ์ คอเรตจา ธงของประเทศสเปน สเปน 2 0-2 1998, 2001
โรบิน โซเดอลิง ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน 2 0-2 2009, 2010
ด็อมมินิค ทีม ออสเตรีย ออสเตรีย 2 0-2 2018, 2019
อังเดรส์ กิเมโน ธงของประเทศสเปน สเปน 1 1-0 1972
อาเดรียนา พานัตตา ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี 1 1-0 1976
ยันนิก โนอาห์ ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 1 1-0 1983
อังเดรส์ โกเมซ ธงของประเทศเอกวาดอร์ เอกวาดอร์ 1 1-0 1990
โทมัส มุสเตอร์ ธงของประเทศออสเตรีย ออสเตรีย 1 1-0 1995
เยฟเกนี คาเฟลนิคอฟ ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย 1 1-0 1996
คาร์ลอส โมยา ธงของประเทศสเปน สเปน 1 1-0 1998
อัลเบิร์ต คอสตา ธงของประเทศสเปน สเปน 1 1-0 2002
แกสตัน เกาดิโอ ธงของประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 1 1-0 2004
เซลโค ฟรานูโลวิก ยูโกสลาเวีย 1 0-1 1970
แพทริก โพรซี ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 1 0-1 1972
นิโกลา ไพลิก ยูโกสลาเวีย 1 0-1 1973
มานูเอล ออรันเตส ธงของประเทศสเปน สเปน 1 0-1 1974
แฮโรลด์ โซโลมอน  สหรัฐ 1 0-1 1976
ไบรอัน ก็อตฟรีด  สหรัฐ 1 0-1 1977
วิกเตอร์ เพ็กชี ธงของประเทศปารากวัย ปารากวัย 1 0-1 1979
ไวตัส เกอรูไลติส  สหรัฐ 1 0-1 1980
จอห์น แมคเอนโร  สหรัฐ 1 0-1 1984
มิคาเอล เพิร์นฟอร์ส ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน 1 0-1 1986
อองรี เลอคอง ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 1 0-1 1988
สเตฟาน เอ็ดเบิร์ก ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน 1 0-1 1989
ปีเตอร์ คอร์ดา ธงของเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย 1 0-1 1992
อัลแบร์โต เบอราซาตกุย ธงของประเทศสเปน สเปน 1 0-1 1994
ไมเคิล สติช ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี 1 0-1 1996
มาร์ติน เวอร์เคิ์ร์ก ธงของประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 1 0-1 2003
กิลเลอร์โม โคเรีย ธงของประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 1 0-1 2004
มาเรียโน เปอร์ตา ธงของประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 1 0-1 2005
แอนดี มาร์รี สหราชอาณาจักร บริเตนใหญ่ 1 0-1 2016

ประเภทหญิงเดี่ยว[แก้]

นักกีฬา สัญชาติ เข้าชิง ชนะ-แพ้ ปี
คริส เอเวิร์ต  สหรัฐ 9 7-2 1973, 1974, 1975, 1979, 1980, 1983, 1984, 1985, 1986
สเตฟฟี กราฟ ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี 9 6-3 1987, 1988, 1989, 1990, 1992, 1993, 1995, 1996, 1999
อรันต์ซา ซานเชซ วิคาริโอ ธงของประเทศสเปน สเปน 6 3-3 1989, 1991, 1994, 1995, 1996, 1998
มาร์ตินา นาฟราติโลวา ธงของเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย
 สหรัฐ
6 2-4 1975, 1982, 1984, 1985, 1986, 1987
จัสติน เอแนง ธงของประเทศเบลเยียม เบลเยียม 4 4-0 2003, 2005, 2006, 2007
โมนิกา เซเลส ยูโกสลาเวีย 4 3-1 1990, 1991, 1992, 1998
มาร์กาเรต คอร์ต ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 3 3-0 1969, 1970, 1973
มิมา เจาโซเวก ยูโกสลาเวีย 3 1-2 1977, 1978, 1983
แมรี เพียร์ซ ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 3 1-2 1994, 2000, 2005
อีวอง กูลากอง ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 2 1-1 1971, 1972
เวอร์จิเนีย รูซิซ ธงของประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย 2 1-1 1978, 1980
อนา อิวาโนวิช ธงของประเทศเซอร์เบีย เซอร์เบีย 2 1-1 2007, 2008
สเวตลานา คูซเนตโซวา ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย 2 1-1 2006, 2009
ฟรานเชสกา สกีอาโวเน ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี 2 1-1 2010, 2011
แอนน์ เฮย์ดัน-โจนส์  สหราชอาณาจักร 2 0-2 1968, 1969
มาร์ตินา ฮิงกิส ธงของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 2 0-2 1997, 1999
คิม ไคลจ์สเตอร์ ธงของประเทศเบลเยียม เบลเยียม 2 0-2 2001, 2003
ดินารา ซาฟินา ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย 2 0-2 2008, 2009
แนนซี ริชชี  สหรัฐ 1 1-0 1968
บิลลี จีน คิง  สหรัฐ 1 1-0 1972
ซู บาร์เกอร์  สหราชอาณาจักร 1 1-0 1976
ฮานา แมนดลิโควา ธงของเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย 1 1-0 1981
อีวา มาจอลี ธงของประเทศโครเอเชีย โครเอเชีย 1 1-0 1997
เจนนิเฟอร์ คาปรีอาติ  สหรัฐ 1 1-0 2001
เซเรนา วิลเลียมส์  สหรัฐ 1 1-0 2002
อนาสตาเซีย มิสกีนา ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย 1 1-0 2004
หลี่ นา ธงของประเทศชิลี ชิลี 1 1-0 2011
มาเรีย ชาราโปวา ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย 1 1-0 2012
เฮเลน เกอร์เลย์ ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 1 0-1 1971
เฮลกา นีซเซน มาสตอฟ ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี 1 0-1 1970
ออลกา โมโรโซวา ธงของสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต 1 0-1 1974
เรนาตา โทมาโนวา ธงของเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย 1 0-1 1976
ฟลอเรนตา มิไฮ ธงของประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย 1 0-1 1977
เวนดี เทิร์นบูลล์ ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 1 0-1 1979
ซิลเวีย ฮานิกา ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี 1 0-1 1981
แอนเดรีย เจเกอร์  สหรัฐ 1 0-1 1982
นาตาเลีย ซเวอเรวา ธงของสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต 1 0-1 1988
แมรี โจ เฟอร์นันเดซ  สหรัฐ 1 0-1 1993
คอนชิตา มาร์ติเนซ ธงของประเทศสเปน สเปน 1 0-1 2000
วีนัส วิลเลียมส์  สหรัฐ 1 0-1 2002
เอเลนา เดเมนเทียวา ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย 1 0-1 2004
แซแมนทา สโตเซอร์ ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 1 0-1 2010
ซารา เออร์รานี ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี 1 0-1 2012

ดูเพิ่ม[แก้]