ยุทธการที่ราบสูงซีโลว์

พิกัด: 52°31′47.3″N 14°25′33.9″E / 52.529806°N 14.426083°E / 52.529806; 14.426083
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยุทธการที่ราบสูงซีโลว์
ส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันออกของสงครามโลกครั้งที่สอง

มุมมองทิวทัศน์ที่ทันสมัยบนโอเดอร์จากที่ราบสูงซีโลว์
วันที่16–19 เมษายน 1945
สถานที่52°31′47.3″N 14°25′33.9″E / 52.529806°N 14.426083°E / 52.529806; 14.426083
ผล โซเวียต/โปแลนด์ได้รับชัยนะ
คู่สงคราม
 สหภาพโซเวียต
โปแลนด์ โปแลนด์
 ไรช์เยอรมัน
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
สหภาพโซเวียต เกออร์กี จูคอฟ
สหภาพโซเวียต วาซีลี ชุยคอฟ
นาซีเยอรมนี กอททาร์ด ไฮน์รีคี
นาซีเยอรมนี แฟร์ดีนันท์ เชอร์เนอร์
กำลัง
1,000,000 men
3,059 tanks
16,934 guns and mortars
112,143 men
587 tanks
2,625 guns
ความสูญเสีย

Estimate based on Soviet data: 5,000–6,000 killed and missing out of ~20,000 total casualties[1]

Estimates of other historians: 30,000–33,000 killed[2][3]
12,000 killed[2]

ยุทธการที่ราบสูงซีโลว์  (เยอรมัน: Schlacht um die Seelower Höhen) เป็นส่วนหนึ่งของปฏิบัติการรุกซีโลว์-เบอร์ลิน (วันที่ 16 เมษายน-2 พฤษาภาคม 1945) การรบบนยอดเขาสูง เป็นหนึ่งในการจู่โจมครั้งสุดท้ายในตำแหน่งป้องกันที่ยึดมั่นที่มีขนาดใหญ่ของสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นการสู้รบกันตั้งสามวัน ตั้งแต่วันที่ 16-19 เมษายน ค.ศ. 1945 จำนวนทหารโซเวียตเกือบหนึ่งล้านนายของแนวรบเบียโลรัสเซียที่ 1 (รวมถึงทหารของกองทัพโปแลนด์ที่ 1 จำนวน 78,556 นาย) ภายใต้การบัญชาของเกออร์กี จูคอฟ การโจมตีตำแหน่งนี้ได้เป็นที่รู้จักกันคือ "ประตูสู่เบอร์ลิน" พวกเขาได้ถูกต้านทานจากทหารจำนวนประมาณ 110,000 นายของกองทัพเยอรมันที่ 9 ภายใต้การบัญชาของนายพลเทโอดอร์ บูสเซอ (Theodor Busse) จากส่วนหนึ่งของกองทัพกลุ่มวิสตูลา

การรบครั้งนี้มักถูกรวมอยู่ในยุทธการที่โอดอร์-ไนส์เซอ ที่ราบสูงซีโลว์เป็นที่มีการสู้รบกันอย่างดุเดือดที่สุดในสนามรบ แต่ก็เป็นเพียงหนึ่งในจุดข้ามหลายทางที่ไปตามแม่น้ำโอดอร์และไนส์เซอที่กองทัพโซเวียตโจมตี การรบที่โอดอร์-ไนส์เซอเป็นเพียงการเปิดฉากของการรบที่กรุงเบอร์ลิน

ผลลัพธ์คือกองทัพที่ 9 ถูกล้อมอย่างสิ้นเชิงและเกิดการสู้รบกันที่ฮัลเบอ (Battle of Halbe)

อ้างอิง[แก้]

  1. Isaev 2010.
  2. 2.0 2.1 Hastings 2005, p. 468.
  3. Beevor 2002, p. 244.

หนังสือเพิ่มเติม[แก้]

  • Beevor, Antony (2002). Berlin: The Downfall 1945. London: Viking-Penguin Books. ISBN 978-0-670-03041-5.
  • Goncharov, Vladislav (2007). Битва за Берлин. Завершающее сражение Великой Отечественной войны [Battle for Berlin: The Final Battle of the Great Patriotic War] (in Russian). Moscow: AST. ISBN 978-5-17-039116-5.
  • Goodenough, Simon (1982). War Maps. Macdonald. ISBN 0-312-85584-2.
  • Hastings, Max (2005). Armageddon: The Battle for Germany, 1944–1945. Vintage. ISBN 978-0-375-71422-1.
  • Isaev, Aleksey (2006). Георгий Жуков: Последний довод короля [Zhukov: The Last Argument of the King] (in Russian). Moscow: Yauza. ISBN 5-699-16564-9.
  • Isaev, Aleksey (2007). Берлин 45-го: Сражения в логове зверя [Berlin of 45: Battles in the Beast's Den] (in Russian). Moscow: Yauza, Eksmo. ISBN 978-5-699-20927-9.
  • Isaev, Aleksey (26 July 2010). "Seelow Heights". Price of Victory (Interview) (in Russian). Interview with Vitaly Dymarsky. Moscow: Echo of Moscow. Retrieved 1 December 2012.
  • Le Tissier, Tony (1996). Zhukov at the Oder. New York: Praeger. ISBN 978-0-275-95230-3.
  • Ziemke, Earl F. (1968). The Battle for Berlin: End of the Third Reich. New York: Ballantine Books. ISBN 0-356-02960-3.
  • Zuljan, Ralph (1 July 2003) [1999]. "Battle for the Seelow Heights – Part II". Archived from the original on 25 May 2011. Originally published in "World War II" at Suite101.com on 1 May 1999. Revised edition published in "Articles on War" at OnWar.com on 1 July 2003.