ภาษามีโซ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษามีโซ
Mizo ṭawng
ประเทศที่มีการพูดอินเดีย, พม่า, บังกลาเทศ
ภูมิภาครัฐมิโซรัม, รัฐตรีปุระ, รัฐอัสสัม, รัฐมณีปุระ, รัฐเมฆาลัย, รัฐชีน, รัฐนาคาแลนด์, บังกลาเทศ
ชาติพันธุ์ชาวมีโซ
จำนวนผู้พูด830,846 คน  (2011)[1]
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนอักษรเบงกอล-อัสสัม, อักษรละติน[2]
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
รหัสภาษา
ISO 639-2lus
ISO 639-3lus

ภาษามีโซ เป็นภาษาที่ใช้ในรัฐมิโซรัมซึ่งตั้งอยู่ระหว่างทิวเขาจิตตะกองกับทิวเขาชีน คำว่ามีโซแปลว่า "คนบนที่สูง" ภาษามีโซรวมทุกสำเนียง มีผู้พูดในอินเดีย 529,000 คน (2540) ในบังกลาเทศ 1,041 คน (2524) ในพม่า 12,500 คน (2526) รวมทั้งหมด 542,541 คน

ประวัติ[แก้]

ภาษามีโซเป็นภาษาในกลุ่มทิเบต-พม่า มีวรรณยุกต์ มีหลายสำเนียง โดยสำเนียงดุห์เลียนหรือลูเซยเป็นภาษากลางในรัฐมิโซรัม

ระบบการเขียน[แก้]

ไม่มีระบบการเขียนเป็นของตนเอง มิชชันนารีชาวตะวันตกเป็นผู้คิดค้นการเขียนด้วยอักษรละติน มีอักษร 25 ตัว

อักษร a aw b ch d e f g ng h i j k
ชื่อ listen listen listen listen listen listen listen listen listen listen listen listen listen
อักษร l m n o p r s t u v z
ชื่อ listen listen listen listen listen listen listen listen listen listen listen listen

ตัวอักษรในรูปปัจจุบันประดิษฐ์โดย Rev. J.H.Lorrain และ Rev. F.W.Savidge จากคณะมิชชันนารีคริสเตียนแห่งมีโซรัมกลุ่มแรก[3]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Statement 1: Abstract of speakers' strength of languages and mother tongues – 2011". www.censusindia.gov.in. Office of the Registrar General & Census Commissioner, India. สืบค้นเมื่อ 7 July 2018.
  2. "Mizo". Ethnologue (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 24 July 2019.
  3. Lalthangliana, B.: 2001, History and Culture of Mizo in India, Burma and Bangladesh, Aizawl. "Baptist Missionary Conference, 1892", p. 745

ข้อมูล[แก้]

  1. The Ethnologue, 13th Edition, Barbara F. Grimes, Editor, 1996, Summer Institute of Linguistics, Inc.
  2. K. S. Singh: 1995, People of India-Mizoram, Volume XXXIII, Anthropological Survey of India, Calcutta.
  3. Grierson, G. A. (Ed.) (1904b). Tibeto-Burman Family: Specimens of the Kuki-Chin and Burma Groups, Volume III Part III of Linguistic Survey of India. Office of the Superintendent of Government Printing, Calcutta.
  4. Grierson, G. A: 1995, Languages of North-Eastern India, Gian Publishing House, New Delhi.
  5. Lunghnema, V., Mizo chanchin (B.C. 300 aṭanga 1929 A.D.), 1993.
  6. Zoramdinthara, Dr., Mizo Fiction: Emergence and Development. Ruby Press & Co.(New Delhi). 2013. ISBN 978-93-82395-16-4

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]